www.AvisThailand.com
Tel. 662-2511131-2
662-2555300-4
668-1-3785697
Home Get a Quote Know Us Better Contact Us Partner& link
Latest Offers Book Your Car Car & Renting Guide Avis Services Car Leasing Chauffeur Drive Travel Agent Avis used Car
Bangkok Cha am Hua hin Chiang mai Chiang rai Hat yai Khon kaen Krabi Nakhon Si Thammarat
Pattaya Phitsanulok Phuket Samui Suratthani Trang Udon Thani Ubon Ratchathani    

TAK

TAK: General Information

            On traveling to Tak Province, expect to discover a place with long history, where natural wonders are magnificently enhanced by ethnic diversity.
      
AVIS


       Mostly forested and mountainous, Tak is a northern province peacefully situated on the Maenam Ping basin. The province covers an area of 16,406 square kilometers and is 426 kilometers north of Bangkok. As Tak shares natural border with Myanmar, it is highly regarded as a western gateway to Myanmar, and a northern doorway to Thailand's major cities such as Lampang and Chiang Mai.

The Past

A province with a long history, Tak was earlier called Mueang Rahang. Historians believe it was built prior to the Sukhothai era and was treated as the western frontier of the Kingdom. Tak was also associated with Thailand's former Great Kings, from King Ramkamhaeng the Great, King Naresuan the Great, King Narai the Great to King Taksin the Great. These four Kings usually called their troop assemblies in Tak. That is why the seal of the province depicts King Naresuan the Great on the royal elephant, pouring sacred water on the ground. This is a symbolic representation of the declaration of the independence of the Kingdom of Ayutthaya during the war with Burma in 1584. Tak was considered the first district to be liberated from the power of the Burmese Kingdom.

The Present

Today, Tak is no longer a strategic military frontier between two great nations. It is however a trading gateway to Myanmar at Amphoe Mae Sot, where lots of economic activities take place daily along the border. In addition, the province has the Asian Highway that runs from Thailand's western border towards the northeastern region at Chong Mek (Mae Sot Sukhothai Phitsanulok Ubon Ratchathani - Laos).

Apart from Tak's military and economic importance the province is also an environmental and cultural center with magnificent forests, spectacular waterfalls and caves and fascinating hill tribes such as Karen, Lisu, Musoe (Lahu), Akha, Yao and Hmong.

TAK : How to get there
Distances from Amphoe Muang to Other Districts:

Ban Tak
Sam Ngao
Mae Sot
Mae Ramat
Phop Phra
Tha Song Yang
Umphang
Wang Chao
22
56
86
120
135
170
221
38
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.

Distances from Tak to Neighbouring Provinces:

Kamphaeng Phet
Sukhothai
Phichit
Nakhon Sawan
68
79
157
185
kms.
kms.
kms.
kms.

Travelling to Tak

By Car

From Bangkok, take Highway No. 1 (Phahonyothin) and Highway No. 32 to Nakhon Sawan via Ayutthaya, Ang Thong, Sing Buri and Chai Nat Provinces, then take Highway No. 1 again and proceed to Tak via Kamphaeng Phet Province. The total distance is 426 kilometers.

By Bus

From Bangkok: Air-conditioned buses depart from Bangkok's Northern Bus Terminal (Mochit 2 Bus Terminal)to Tak between 5 a.m. and 10 p.m. every day. The journey takes 6 hours. Call 0 2936 2852-66 or visit www.transport.co.th for updated schedules. Daily bus services to Tak are also available. They are operated by private bus companies such as Thanchit Tour (Tel: 0 2551 1307), Choet Chai Tour (Tel: 0 2551 1054).

By Rail

From Bangkok: There are no trains going directly to Tak. The nearest train transfer station is Phitsanulok. From there, tourists can take a local bus to Tak. Contact Bangkok Railway Station Tel. 1690, 0223 7010, 0 2223 7020 or visit www.railway.co.th for more information.

By Air

From Bangkok: Thai Airways flies from Bangkok to Mae Sot, a district which is 86 kilometers from the City of Tak. For more updated information, call 0 2628 2000 (24-hour reservation center) or visit www.thaiairways.com

Travel from Tak to other Cities

Tourists who want to travel from Tak to Bangkok or any other city may choose to go by air or land. Car rental service in the City of Tak is also available.

By Bus

Many governmental and private bus companies have regular and air-conditioned bus services to nearby provinces. For more information, call Transportation Authority of Tak, tel. 0 5551 1057.

Distances from Tak to Neighbouring Provinces:

Ban Tak
Sam Ngao
Mae Sot
Mae Ramat
Phop Phra
Tha Song Yang
Umphang
Wang Chao
22
56
86
120
135
170
221
38
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.

Distances from Tak to Neighbouring Provinces:

Kamphaeng Phet
Sukhothai
Phichit
Nakhon Sawan
68
79
157
185
kms.
kms.
kms.
kms.

Travelling to Tak

By Car

From Bangkok, take Highway No. 1 (Phahonyothin) and Highway No. 32 to Nakhon Sawan via Ayutthaya, Ang Thong, Sing Buri and Chai Nat Provinces, then take Highway No. 1 again and proceed to Tak via Kamphaeng Phet Province. The total distance is 426 kilometers.

By Bus

From Bangkok: Air-conditioned buses depart from Bangkok's Northern Bus Terminal (Mochit 2 Bus Terminal)to Tak between 5 a.m. and 10 p.m. every day. The journey takes 6 hours. Call 0 2936 2852-66 or visit www.transport.co.th for updated schedules. Daily bus services to Tak are also available. They are operated by private bus companies such as Thanchit Tour (Tel: 0 2551 1307), Choet Chai Tour (Tel: 0 2551 1054).


By Rail

From Bangkok: There are no trains going directly to Tak. The nearest train transfer station is Phitsanulok. From there, tourists can take a local bus to Tak. Contact Bangkok Railway Station Tel. 1690, 0223 7010, 0 2223 7020 or visit www.railway.co.th for more information.

By Air

From Bangkok: Thai Airways flies from Bangkok to Mae Sot, a district which is 86 kilometers from the City of Tak. For more updated information, call 0 2628 2000 (24-hour reservation center) or visit www.thaiairways.com

From Bangkok via Pitsanulok Province and then transfer to the Pitsanulok-Tak shuttle. The flights are scheduled to run every Tuesday, Thursday, Saturday and Sunday. Call 02 628-2000 (24-hour reservation center) or visit www.thaiairways.com for more information.

From Bangkok to Umphang, Take air-conditioned buses, as well as flights from Bangkok to Mae Sot, and then, take the local bus to Umphang. There is now a charter flight operated by Siam GA Co., Ltd. The fare is approximately 9,000 bahts to fly directly to Umphang either on Monday, Wendesday, Friday, Saturday or Sunday. For more information, call 02 5043320 ext. 197.

Travel from Tak to other Cities

Tourists who want to travel from Tak to Bangkok or any other city may choose to go by air or land. Car rental service in the City of Tak is also available.


By Air

From Bangkok via Pitsanulok Province: and then transfer to the Pitsanulok-Tak shuttle. The flights are scheduled to run every Tuesday, Thursday, Saturday and Sunday. Call 02 628-2000 (24-hour reservation center) or visit www.thaiairways.com for more information.

The Thai Airways offers a wide range of trips from Tak and Mae Sot to other provinces, including Chiang Mai and Phitsanulok. For more information, call 0 2628 2000 (24-hour reservation center)

By Bus

Many governmental and private bus companies have regular and air-conditioned bus services to nearby provinces. For more information, call Transportation Authority of Tak, tel. 0 5551 1057.

TAK : Activities

Taksin Maharat National Park

This national park is located at tambon Mae Tor and Pa Wor, 2 kilometers off of the km. 26 marker on the Tak-Mae Sot Highway No. 105. The Park was previously known as Krabak Yai National Park, after the name of Thailand's record-holding tree which has a height of 50 meters and a circumference of 16 meters. With an area of 37,250 acres comprised mostly of high-altitude mountains, the park features several stunning attractions including the nine-tiered Nam Tok Mae Ya Pa, a natural stone bridge and giant Kabak trees. The stone bridge is a 25-meter high stone strip that bridges two cliffs with a brook flowing below the bridge. Approximately 78.5 meters further from the cliff is a cave with beautiful stalagmites and stalactites. Bird lovers, should not miss the opportunity to see both resident and migratory birds in the park. Accommodations available include bungalows and campsites; call the Park Office at 0-5551-1429 or email: reserve@dnp.go.th for more details. Entrance fees are 200 for adults and 100 for children.

Shrine of King Taksin the Great

Located near the Tak TAT office, at the intersection of Charojwithithong Road and Mahatthai Bamrung Road, the Shrine houses Tak's most famous statue of King Taksin the Great. The Shrine was established in 1947 to honor King Taksin the Great who, as a designated ruler of Tak, successfully defeated the Burmese invasion of the Kingdom of Ayutthaya. During his reign, he moved the capital from Phra Nakon Si Ayutthaya to the bank side of Maenam Chao Praya and named it Krung Thonburi. That is why his statue, which is in the sitting position with a sword lying across his lap, has the following inscription at the base Phra Chao Taksin of Krung Thonburi. The site is also a center of an annual celebration during December 28 January 3.

Wat Thai Wattanaram

This temple is located at Mu 1, Tambon Ta Sai Luat, on the way to the Rim Moei border market, just 500 meters from the Thai-Myanmar Friendship Bridge. The temple was originally known as Wat Thai Yai as the construction of the temple was greatly influenced by Burmese culture and Mahayana Buddhism. Enshrined within the temple are a reclining Buddha image and a marble Buddha image. In addition, on the second floor of the main Viharn, a collection of Burmese musical instruments, including tuned drums and gongs are on display.

Wat Don Kaeo

This temple houses Thailand's biggest and most beautiful marble Burmese-style Buddha image. The width of the image base is 50 inches while the height is 63 inches. The temple is situated on the Mae Sot-Mae Ramat-Tha Song Yang route at Km. 33. To get there from the main road, take a left turn and proceed for another 2 kilometers.

Umphang

164 kilometers south of Mae Sot on Highway 1090 is Umphang District which is another district in Tak Province that shares a border with Myanmar. Highway No. 1090 from Mae Sot to Umphang offers a picturesque view with the highest peak at 1,200 meters above sea level along the 164 kilometers of winding roads that takes approximately 4 hours to complete. However, travelers coming from Tak city, have to travel along Highway No. 105 (Tak-Mae Sot route), then turn on to the Mae Satum Phang Highway (Highway No. 1090). The total distance is 249 kilometers.

Part of a World Heritage Site, Umphang is renowned for its natural charming beauty and jungle trekking and rafting activities that visitors put at the top of their travel agenda.

Apart from numerous attractions suitable for ecotourism, Umphang is a former Karen settlement and is currently home to several hill tribes including Karen, Lisu, Hmong, Mien and Lahu. Umphang is populated mostly by Karen people who are in particular, very traditional. They live simply and maintain contact with nature using elephants at work and as a means of transportation.

Tham Mae Usu (Mae Usu Cave)

Located on the magnificent Mae Sot, Mae Sariang Highway No. 1085 at Km. 95-96, this cave boasts an underworld of natural wonders. Inside the cave are striking stalactites and stalagmites formations. It is not advised to visit the cave during the rainy season as the only entrance for visitors is through Mae Usa stream at the entrance of the cave.

Mae Ping Lake Cruise

Cruising the lake is a popular activity that tourist should not miss. The extensive reservoir extending to Chiang Mai's Hot District provides refreshing atmosphere and stunning backdrops along the lake. The regular route with a total distance of 140 kilometers starts from the Bhumibol Dam and ends at Doi Tao Self-Help Settlement in Chiang Mai.

Khuean Bhumibol

Located approximately 60 kilometers north of Tak city in Amphoe Sam Ngao is Bhumibol Dam, Thailand's largest dam. Formerlly known as Yanhi Dam, this is Thailands first all-purpose dam, built from concrete designed as a huge curve cutting across Maenam Ping between Khao Kaew and Khao Yanhi. The dam produces most of Thailand's hydro-electric power and ranks 8th in the world of hydro-electricity producing dams. The Dam is operated by the Electricity Generating Authority of Thailand, which also provides on-site accommodations. Call 02 436 - 3179 or 02 424-0101 for further details.

Wat Phra That Doi Hin Kiu

Overlooking Maenam Moei and Myanmar is Wat Phra That Doi Hin Kiu, a hill-top forest temple, just 11 kilometers northwest of Mae Sot. The chedi is special as it is constructed in the same style as Kyaiktiyo Pagoda in Myanmar. In addition, the chedi was built on a rock which seems to have been balanced on the edge of a cliff.

Wat Phra Boromthat and Ancient Tak City

The area of Wat Phra Boromthat in Amphoe Ban Tak is the former site of Ancient Tak City. Lying along the bank of Maenam Ping, approximately 25 kilometers north of the City, the site contains several ruins including the legendary hill-top pagoda in Phum Khao Binth style (of Sukhothai era).

The pagoda was built by King Ramkhamhaeng the Great to mark his victory in the hand to hand combat on the elephants back against King Khun Sam Chon, the ruler of Muang Chot (currently Amphoe Mae Sot). The pagoda shares Myanmar's famous Chawedagong's features and houses holy Buddha relics. Locally known as the royal pagoda or Chedi Yutta Hatthi, it is located next to Wat Phra Boromthat.

The temple (Wat Phra Boromthat) itself is extraordinary with wooden door panels and roof decorations that are magnificently crafted. In addition, the story of the Lord Buddha is depicted on the temples wooden window panels which are covered in real gold.


ตาก : ข้อมูลทั่วไป

ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่
พระเจ้าตากเกรียงไกร เมืองไม้และป่างาม

        เมืองตาก เป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคเหนือตอนล่าง มีชื่อเดิมว่า “เมืองระแหง” ในอดีตเป็นเมืองที่มีชาวมอญอาศัยอยู่มาก่อน ดังมีหลักฐานศิลปะมอญปรากฏอยู่ ตัวเมืองเดิมตั้งอยู่ที่อำเภอบ้านตาก เมืองนี้สร้างขึ้นก่อนสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ต่อมาเมื่อได้สถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานีแล้ว เมืองตากมีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญด้านฝั่งตะวันตก และยังเป็นเมืองที่มีความเกี่ยวข้องกับพระมหาราชในอดีตถึง 4 พระองค์ ที่เสด็จมาชุมนุมกองทัพ ณ ดินแดนเมืองตากแห่งนี้ ได้แก่ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายตัวเมืองตากจากฝั่งขวา ของแม่น้ำปิงมายังฝั่งซ้ายบริเวณตำบลบ้านระแหงจนกระทั่งทุกวันนี้

        ตาก อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 426 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 10,254,156 ไร่ สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็น ภูเขา และป่าไม้ เป็นจังหวัดที่มีอุทยานแห่งชาติหลายแห่งที่ยังคงความสมบูรณ์ของป่า และธรรมชาติ อาทิ อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช อุทยานแห่งชาติแม่เมย อุทยานแห่งชาติลานสาง และอุทยานแห่งชาติน้ำตกพาเจริญ ตลอดจนมีน้ำตกที่ นักท่องเที่ยวรักการผจญภัย และนิยมการล่องแก่งต้องมาเยือนสักครั้ง คือ น้ำตกทีลอซู และน้ำตกทีลอเร นอกจากความสวยงามตามธรรมชาติแล้ว ยังเป็นจังหวัดที่มีผลผลิตทางการเกษตรที่ขึ้นชื่อทั้งดอกไม้ และผลไม้ โดยเฉพาะทับทิม ซึ่งเป็นพันธุ์ ที่มีผลใหญ่ และกำลังได้รับความนิยมมาก

หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ

  1. สำนักงานจังหวัดตาก โทร. 0 5551 1546
  2. ประชาสัมพันธ์จังหวัดตาก โทร. 0 5551 3584
  3. ที่ว่าการอำเภอเมืองตาก โทร. 0 5551 1007
  4. ที่ว่าการอำเภอแม่สอด โทร. 0 5553 1077
  5. ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดตาก โทร. 0 5553 1596
  6. ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และอนุรักษ์อุ้มผาง โทร. 0 5556 1338
  7. สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองตาก โทร. 0 5551 2191
  8. สถานีตำรวจภูธรอำเภอแม่สอด โทร. 0 5553 1122,0 5553 1130
  9. สถานีตำรวจภูธรอำเภออุ้มผาง โทร. 0 5556 1011, 0 5556 1112
  10. สถานีตำรวจท่องเที่ยว 4 ฝ่ายปฏิบัติการ 6 (ตาก) โทร. 0 5553 1385 โทรสาร 0 5553 5505
  11. กองตรวจคนเข้าเมืองตาก โทร. 0 5556 3002-4 ตรวจทางหลวง โทร. 0 5551 1340
  12. โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โทร. 0 5551 1024-5, 0 5551 3983
  13. โรงพยาบาลแม่สอด โทร. 0 5553 1224, 0 5553 1229
  14. สถานีเดินรถโดยสารประจำทาง โทร. 0 5551 1057

Link ที่น่าสนใจ

สำนักงานจังหวัดตาก
http://www.tak.go.th
ททท.สำนักงานตาก
http://www.tourismthailand.org/tak

ตาก : ข้อมูลการเดินทาง
ข้อมูลการเดินทางของ จ. ตาก

การเดินทางจากกรุงเทพฯไปจังหวัดตาก
รถยนต์
จากกรุงเทพฯ สามารถใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 1 ถนนพหลโยธิน แล้วเข้าทางหลวงหมายเลข 32 ถนนสายเอเซีย ผ่านประตูน้ำพระอินทร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท เข้านครสวรรค์แล้วแยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1 อีกครั้ง ผ่านเข้ากำแพงเพชร และตรงไปจังหวัดตาก รวมระยะทาง 426 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 5 ชั่วโมงครึ่ง

รถโดยสารประจำทาง
บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการเดินรถระหว่าง กรุงเทพฯ-ตาก ทั้งช่วงเช้า และช่วงเย็น เวลา 05.30-13.00 น. และ 16.30-22.00 น. และกรุงเทพฯ-แม่สอด ตั้งแต่เวลา 08.00-19.00 น. ทุกวัน สอบถามรายละเอียดได้ที่ สถานีขนส่งหมอชิต 2 โทร. 0 2537 8055, 0 2936 2852-66 www.transport.co.th และมีบริษัทเดินรถเอกชน ได้แก่ บริษัท ทันจิตต์ ทัวร์ วิ่งระหว่าง กรุงเทพฯ-ตาก ตั้งแต่เวลา 09.30-22.00 น., กรุงเทพฯ-แม่สอด เวลา 22.00 น. สอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร. 0 5551 1307 กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 3210-13 และบริษัท เชิดชัย ทัวร์ วิ่งระหว่าง กรุงเทพฯ-ตาก ตั้งแต่เวลา 12.30-22.00 น. กรุงเทพฯ-แม่สอดมีรถออกเที่ยวเดียวคือ เวลา 22.15 น. สอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร. 0 5551 1054 กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 0199
นอกจากนี้ บริษัท ขนส่ง จำกัด และ บริษัทเดินรถเอกชน มีบริการรถโดยสารปรับอากาศ และรถธรรมดาวิ่งระหว่างอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิษณุโลก อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ลำปาง พะเยา เชียงใหม่ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น อำเภอบ่อไร่ จังหวัดจันทบุรี สอบถามรายละเอียดได้ที่ สถานีขนส่ง จังหวัดตาก โทร. 0 5551 1057 สถานีขนส่ง อำเภอแม่สอด โทร. 0 5553 2949 และ บริษัท ไทยพัฒนกิจขนส่ง จำกัด ถนนอินทรคีรี อำเภอแม่สอด วิ่งระหว่างแม่สอด-เชียงราย-แม่สาย โทร. 0 5553 2331นอกจากนี้ยังมีบริษัทรถเช่าที่ให้บริการเช่ารถในเขตอำเภอเมืองอีกด้วย

เครื่องบิน
สายการบิน แอร์ ฟินิคซ์ (AIR PHOENIX) เปิดบริการเที่ยวบินระหว่างกรุงเทพฯ-แม่สอด สอบถามรายละเอียดและสำรองที่นั่ง ติดต่อ โทร. 0 2900 5454 เว็บไซต์ www.air-phoenix.com

การคมนาคมภายในตัวจังหวัด จ.ตาก
การเดินทางจากอำเภอเมืองตากไปยังอำเภอต่าง ๆ

  1. อำเภอเมือง กิโลเมตร
  2. อำเภอบ้านตาก 22 กิโลเมตร
  3. อำเภอวังเจ้า 38 กิโลเมตร
  4. อำเภอสามเงา 56 กิโลเมตร
  5. อำเภอแม่สอด 86 กิโลเมตร
  6. อำเภอแม่ระมาด 120 กิโลเมตร
  7. อำเภอพบพระ 135 กิโลเมตร
  8. อำเภอท่าสองยาง 170 กิโลเมตร
  9. อำเภออุ้มผาง 221 กิโลเมตร

การเดินทางจากตากไปยังจังหวัดใกล้เคียง

กำแพงเพชร 68 กิโลเมตร
สุโขทัย 79 กิโลเมตร
พิจิตร 157 กิโลเมตร
นครสวรรค์ 185 กิโลเมตร

ตาก : วัฒนธรรมประเพณี

วันเที่ยวถ้ำ “แม่อุสุ”
วันที่ 19 – 20 เมษายน 2552
ณ ถ้ำแม่อุสุ อำเภอท่ายางสอง จังหวัดตาก

กิจกรรม
กิจกรรมเที่ยวชมถ้ำแม่อุสุ การแสดงของชาวกระหรี่ยง / แข่งขันกีฬาพื้นบ้าน ออกร้านจำหน่ายสินค้า OTOP

สอบถามรายละเอียด
ที่ว่าการอำเภอท่าสองยาง โทร. 0 5558 9022
อบต.แม่อุสุ โทร. 0 5550 8096-7


สงกรานต์หาดแม่ปิงอเมซิงเมืองตาก
วันที่ 12 - 14 เมษายน 2552
ณ บริเวณริมฝั่งแม่น้ำปิง อำเภอเมือง จังหวัดตาก

กิจกรรม
ขบวนแห่อัญเชิญหลวงพ่อแสนทอง ประกวดนางงามสงกรานต์ แข่งขันกีฬาพื้นบ้าน และ เทศกาลอาหารพื้นบ้าน

สอบถามรายละเอียด
สำนักงานเทศบาลเมืองตาก โทร. 0 5554 0213-5

สงกรานต์เมียวดี-แม่สอด สุดยอดที่ริมเมย
วันที่ 12 - 15 เมษายน 2552
ณ สนามกีฬาเทศบาลเมืองแม่สอด จังหวัดตาก

กิจกรรม
ประกวดนางงามสงกรานต์ไทย-พม่า แข่งขันกีฬาพื้นบ้าน ชกมวยคาดเชือกไทย-พม่า การจัดนิทรรศการ ออกร้านจำหน่ายสินค้า OTOP การแสดงทางวัฒนธรรมไทย-พม่า

สอบถามรายละเอียด
สำนักงานเทศบาลตำบลแม่สอด โทร. 0 5553 1113

ตาก : สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง

มี พื้นที่ 1,619,280 ไร่ เป็นเขตป่าอนุรักษ์เพื่อการสงวน และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และเป็นผืนป่าตะวันตกที่เป็นต้นกำเนิดของแหล่งมรดกโลก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน อากาศจะหนาว และเย็นมากในระหว่างเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ พรรณไม้ส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบ ป่าผลัดใบ สัตว์ป่าที่พบเห็น ได้แก่ เสือลายเมฆ สมเสร็จ เลียงผา เหยี่ยว นกกระทุง ได้รับการประกาศเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง เมื่อ พ.ศ. 2532
สถานที่น่าสนใจในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฯ ได้แก่

น้ำตกทีลอซู คำว่า " ทีลอซู " เป็นภาษากะเหรี่ยง แปลว่า น้ำตกดำ ตั้งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง ห่างจากที่ทำการเขตฯ 3 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นน้ำตกภูเขาหินปูนขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนความสูงจากระดับน้ำทะเล 900 เมตร เกิดจากลำห้วยกล้อท้อ ลำน้ำทั้งสายตกลงสู่หน้าผาสูงชัน มีน้ำไหลแรงตลอดปี ความกว้างของตัวน้ำตกประมาณ 500 เมตร ไหลลดหลั่นเป็นชั้น ๆ มีความสูงประมาณ 300 เมตร ล้อมรอบด้วยป่าดงดิบที่สมบูรณ์ เป็นน้ำตกที่มีความสวยงามมาก ติดอันดับ 1 ใน 6 ของโลก ซึ่งการเดินทางไปชมน้ำตกแต่ละชั้นบางครั้งจะต้องเดินผ่านสายน้ำตก ควรใช้ความระมัดระวังมากเป็นพิเศษ

การเดินทาง รถยนต์ จากอำเภออุ้มผางใช้เส้นทางสายอุ้มผาง-แม่สอด ถึงหลักกิโลเมตรที่ 161 มีทางแยกซ้ายที่บ้านแม่กลองใหม่ไปด่านเดลอ หรือจุดตรวจ “เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง” เป็นระยะทาง 30 กิโลเมตร นักท่องเที่ยวที่ขับรถเข้าน้ำตกทีลอซูควรใช้รถปิคอัพ หรือรถขับเคลื่อน 4 ล้อที่มีสมรรถนะสูงเท่านั้น ในช่วงฤดูฝนรถยนต์ไม่สามารถเข้าได้หากนักท่องเที่ยวมีความประสงค์จะเดินทาง เข้าชมน้ำตกทีลอซูจะต้องล่องแพยางและเดินเท้า ถึงที่ทำการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง และเดินเท้าเข้าชมน้ำตกอีกประมาณ 3 กิโลเมตรค่าธรรมเนียมเข้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฯ 20 บาท/ คน รถยนต์ 30 บาท/ คัน ล่องแพ นักท่องเที่ยวสามารถติดต่อผ่านบริษัททัวร์ที่จัดล่องแพในอำเภออุ้มผางได้ โดยติดต่อได้ที่ ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและอนุรักษ์อุ้มผาง โทร. 0 5556 1338
หมายเหตุ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง ขอปิดเส้นทางไม่ให้ยานพาหนะ เข้า - ออก ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง จากหน่วยพิทักษ์ป่าห้วยหนองหลวงถึงน้ำตกทีลอซู ในช่วงฤดูฝน
และช่วงเดือนพฤศจิกายน 2551 นี้ ยังอยุ่ระหว่างการปรับปรุงเส้นทางที่เป็นหลุมบ่ออันเนื่องจากฝนตกชุกอย่าง ต่อเนื่อง จึงมีกำหนดเปิดเส้นทางรถยนต์ดังกล่าวตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2551 เป็นต้นไป สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ห่าอุ้มผาง โทร. 0 5557 7318

อุทยานแห่งชาติแม่เมย

อุทยาน แห่งชาติแม่เมย อยู่ในเขตอำเภอท่าสองยาง มีพื้นที่ติดต่อกับชายแดนสหภาพพม่าโดยมีแม่น้ำเมยเป็นเส้นแบ่งเขตแดน บริเวณที่ทำการอุทยานฯ มีการจัดภูมิทัศน์ และตกแต่งพื้นที่ด้วยไม้ประดับดูสวยงาม บรรยากาศโดยรอบที่ทำการสงบร่มรื่นด้วยป่าเขา และยังมีสัตว์ป่าต่างๆ เช่น กวาง ละมั่ง เป็นต้น นอกจากนั้นทางอุทยานฯ ได้จัด เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ใช้เวลาเดินประมาณ 6 ชั่วโมง ต้องมีเจ้าหน้าที่นำทางโดยติดต่อล่วงหน้าที่อุทยานฯ เป็นเส้นทางเดินแบบไปเช้า - เย็นกลับ หรือจะพักแรมก็ได้ ระหว่างเส้นทางที่เดินเป็นทางขึ้นเขาบ้าง ลงเขาบ้าง ทางเดินไม่ชันมาก เดินเรียบลำน้ำขึ้นไปเรื่อยๆ ผ่านน้ำตกเล็กๆ บางครั้งต้องปีนบันไดไม้ไผ่ที่สร้างขึ้นขนานไปกับน้ำตก ละอองน้ำจากน้ำตกจะกระเด็นเข้ามาปะทะที่ใบหน้าทำให้สดชื่นขึ้น หากมาในช่วงปลายฝนต้นหนาวจะพบดอกไม้ป่านานาชนิดหลากสีสันบานอยู่ริมทางเดิน หรือริมน้ำตก เช่น ดอกกระทือสีแดง ดอกบัวตองสีเหลืองบานเป็นกอชวนสะดุดตาตัดกับผืนป่าสีเขียว บางดอกซ่อนตัวอยู่กับพรมมอสสีเขียวเข้ม

น้ำตกผาเทวะ เป็นอีกจุดหนึ่งที่จะได้พบในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ และเป็นน้ำตกที่เด่นที่สุดในอุทยานฯ มีความสูง 150 เมตร เวลาที่อยู่ใกล้ ๆ จะมองเห็นสายน้ำทิ้งตัวลงจากหน้าผา ส่งให้สายน้ำไหลแรงมากระทบโขดหิน และแอ่งน้ำเบื้องล่าง ป่ารอบ ๆ บริเวณจึงชุ่มชื้น และฉ่ำเย็นด้วยละอองของน้ำที่กระจายไปทั่ว สายน้ำสีขาวของผาเทวะไหลยาวไปสู่เบื้องล่างสามารถมองเห็นได้จากอีกยอดเขา หนึ่ง
เมื่อขึ้นไปบนยอดเขาจะพบ ทุ่งหญ้านิรนาม เป็นทุ่งหญ้าและหุบเขาสามารถพักแรมได้ และต้องเตรียมอุปกรณ์ทุกอย่างไปเอง เช่น ไฟฉาย น้ำ อาหาร เครื่องนอน ทุ่งหญ้ามีทิวทัศน์สวยงาม และบรรยากาศเย็นสบาย ถ้าตื่นมาตอนเช้าหากฟ้าเปิดจะมองเห็นทะเลหมอก ใกล้ ๆ บริเวณจะพบหลุมขุดแร่เป็นระยะ ๆ เพราะที่นี่เคยเป็นพื้นที่สัมปทานเหมืองแร่มาก่อน และบริเวณกลางป่ามีเจดีย์ซึ่งเป็นที่บรรจุอัฐิของหญิงสาวที่มาผูกคอตายเพราะ ผิดหวังในความรัก ทางอุทยานฯ ได้จัดเป็นเส้นทางเดินป่า “เล่นน้ำตกเทวะ พักแรมทุ่งหญ้านิรนาม ชมทะเลหมอก” ซึ่งนักท่องเที่ยวต้องติดต่อขอเจ้าหน้าที่นำทางก่อนทุกครั้ง
ถ้ำแม่อุสุ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอท่าสองยางไปทางเหนือประมาณ 12 กิโลเมตร บนเส้นทางสายแม่สอด-แม่สะเรียง ทางหลวงหมายเลข 105 เลยกิโลเมตรที่ 94 ไปเล็กน้อย จะมีทางแยกซ้ายมือเข้าไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตร การเดินทางเข้าไปชมถ้ำจะต้องเดินลุยไปตามลำห้วยแม่อุสุ ช่วงฤดูฝนเข้าชมถ้ำไม่ได้เนื่องจากระดับน้ำในลำธารจะสูงมาก ภายในถ้ำกว้างใหญ่ เพดานสูง อากาศโปร่ง มีหินงอก หินย้อยรูปร่างต่าง ๆ สวยงาม ทางด้านตะวันตกจะมีโพรงหินขนาดใหญ่ ในตอนบ่ายมีแสงแดดส่องเข้ามาทำให้ถ้ำดูสวยงาม ทางเดินไม่ลำบาก หากปีนขึ้นไปจนทะลุโพรงหินจะยิ่งสวยงาม เมื่อเดินเข้าไปในถ้ำสักระยะหนึ่งแล้ว หันกลับมาดูทางเข้าจะเห็นลำห้วยที่ไหลคดเคี้ยวออกจากถ้ำที่มืดไหลไปสู่ปาก ถ้ำที่สว่าง และบริเวณด้านหลังเป็นทุ่งหญ้าสีเขียวสวยงาม
จุดชมทะเลหมอก มี 3 จุด ซึ่งทุกจุดติดทางหลวงสายแม่สลิด-อมก๋อย ดังนี้
-จุดชมทะเลหมอกหลังที่ทำการอุทยานฯ มีความสูงประมาณ 1,100 เมตร เป็นจุดที่ชมทะเลหมอกได้กว้างไกลและชมพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก จุดนี้เหมาะกับนักท่องเที่ยวที่นิยมเดินป่าเพราะต้องเดินทางเข้าไป 3-4 ชั่วโมง และต้องพักแรม 1 คืน เพื่อชมทิวทัศน์ที่สวยงาม
-ม่อนครูบาใสและม่อนพูนสุดา อยู่ห่างกันประมาณ 200 เมตร สามารถชมทะเลหมอกยามเช้าและพระอาทิตย์ตกดิน อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ ประมาณ 7 กิโลเมตร
-ม่อนกิ่วลม เป็นจุดที่นักท่องเที่ยวนิยมไปเที่ยวมากที่สุดเพื่อดูพระอาทิตย์ยามเช้า เหนือทะเลหมอก อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ ประมาณ 14 กิโลเมตร
อัตราค่าเข้าอุทยานฯ ชาวไทย เด็ก 10 บาท ผู้ใหญ่ 20 บาท ชาวต่างประเทศ เด็ก 100 บาท ผู้ใหญ่ 200 บาท รถยนต์ 4 ล้อ 30 บาท (ไม่รวมคนขับ)
สถานที่พัก ทางอุทยานฯ มีบริการบ้านพัก จำนวน 3 หลัง ราคา 1,000 บาท หากต้องการให้อุทยานฯ บริการด้านอาหารต้องแจ้งล่วงหน้า
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ อุทยานแห่งชาติแม่เมย อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก 63150 โทร. 0 5551 9644-45 หรือ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช บางเขน กรุงเทพฯ โทร.0 2562 0760 www.dnp.go.th

การเดินทาง จากตัวเมืองตากไปตามเส้นทางสายแม่สอด-แม่ระมาด-ท่าสองยาง ทางหลวงหมายเลข 105 ระยะทางประมาณ 114 กิโลเมตร มีทางแยกขวามือที่จุดตรวจแม่สลิดเป็นทางที่ตัดไปสู่อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นทางขึ้นเขาไปอีกประมาณ 11 กิโลเมตร ถึงที่ทำการอุทยานฯ ทางขึ้นเขาเป็นทางชันรถบัสใหญ่ไม่สามารถขึ้นไปได้ (หมายเหตุ เส้นทางหลวงหมายเลข 105 ช่วงแม่สอด-แม่ระมาด-ท่าสองยาง เป็นเส้นทางเลียบชายแดนจึงไม่แนะนำให้เดินทางผ่านหลังเวลา 18.00 น.) หรือนั่งรถสองแถวประจำทางจากแม่สอดไปบ้านแม่สลิดหลวง หลังจากนั้นต้องเหมารถต่อไปที่ทำการอุทยานฯ

อำเภอแม่สอด

อยู่ ห่างจากอำเภอเมืองตาก 86 กิโลเมตร ได้รับการจัดตั้งเป็นอำเภอมาตั้งแต่ พ.ศ. 2441 เดิมชื่อพระหน่อเก่ ตัวอำเภออยู่ในที่ราบระหว่างภูเขา ส่วนหนึ่งเป็นเทือกเขาในฝั่งประเทศไทย อีกส่วนหนึ่งเป็นเทือกเขาฝั่งสหภาพพม่า อำเภอแม่สอดมีพื้นที่ประมาณ 2,600 ตารางกิโลเมตร ประชากรมีทั้งชาวเขา และคนที่อพยพจากอำเภอเมืองเข้าไปตั้งถิ่นฐานอยู่ รวมทั้งชาวพม่าที่มีภรรยา และบุตรเป็นคนไทยด้วยประวัติความเป็นมาของอำเภอแม่สอดนั้นยังไม่ปรากฏแน่ชัด ว่าจะเป็นเมืองฉอดของขุนสามชนที่เคยยกทัพไปตีกรุงสุโขทัยหรือไม่ ยังไม่มีผู้ใดพิสูจน์ได้ เมื่อดูตามสภาพบ้านเมืองของอำเภอแม่สอดนั้น ไม่พบว่ามีสิ่งก่อสร้างที่เก่าแก่มีอายุอยู่ในยุคของสุโขทัยได้เลย ฉะนั้นจึงน่าเชื่อได้ว่าไม่ใช่เมืองเดียวกัน ขณะนี้ได้มีนักโบราณคดีพบซากเมืองโบราณอยู่ในป่าทึบ ในท้องที่อำเภอแม่ระมาด อาจจะเป็นเมืองฉอดตามศิลาจารึกกรุงสุโขทัยก็ได้


ตลาดสินค้าพื้นเมืองชาวเขาดอยมูเซอ และพิพิธภัณฑ์มูเซอดำ

ตลาด สินค้าพื้นเมืองชาวเขาดอยมูเซอ และพิพิธภัณฑ์มูเซอดำ ตั้งอยู่บนดอยมูเซอ ริมเส้นทางสายตาก - แม่สอด ทางหลวงหมายเลข 105 บริเวณกิโลเมตรที่ 28 ตลาดแห่งนี้ท่านจะได้พบเห็นภาพวิถีชีวิตของชาวไทยภูเขาที่นำผลผลิตจากไร่สวน มาจำหน่าย ภายในบริเวณตลาดยังเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์มูเซอดำ ซึ่งได้รวบรวมสิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันของชาวไทยภูเขาเผ่ามูเซอดำ และชาวเขาเผ่าต่างๆ ไว้ทั้งหมดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน หากมีความประสงค์จะชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมของชาวเขา กรุณาติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา กรุณาติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดตาก โทรศัพท์ 0 5551 3614 และบริเวณหลักกิโลเมตรที่ 31 เป็นตลาดมูเซอเก่า โดยทั้งสองตลาดนี้เป็นสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ชาวเขา ได้แก่ เสื้อผ้า เครื่องเงิน และพืชผลต่าง ๆ ทางการเกษตร เปิดจำหน่ายทุกวัน

วัดพระบรมธาตุ

ซึ่ง จำลองแบบมาจากเจดีย์ชเวดากอง ประเทศพม่า และเป็นพระธาตุประจำปีเกิดของปีมะเมีย ในช่วงวันขึ้น 14 และ 15 ค่ำเดือนเก้าของชาวภาคเหนือ ชาวอำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก โดยองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะตะเภา จะจัดงานบุญที่ยิ่งใหญ่ คือประเพณีขึ้นธาตุเดือนเก้า ขึ้นเพื่อเป็นการบูชาพระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยจัดขบวนแห่ผ้าห่มธาตุ ซึ่งประกอบด้วยขบวนกลองยาว ขบวนต้นเงินต้นทอง ขบวนตุงไชย ธงทิวและเครื่องพุทธบูชา จากบริเวณหนองเล่ม เคลื่อนผ่านสะพานบุญ ซึ่งเป็นสะพานไม้ยาวประมาณ 200 เมตรขึ้นไปทำพิธีห่มพระบรมธาตุ จากนั้นจะเป็นพิธีการบวงสรวงเจดีย์ยุทธหัตถี เจดีย์ที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงสร้างไว้ในคราวทำสงครามยุทธหัตถีชนะขุนสาม ชน เจ้าเมืองฉอดและพิธีชุมนุมเจ้า 108 องค์ จากทั่วทุกสารทิศ

การเดินทาง จากตัวเมืองตากไปตามทางหลวงหมายเลข 1107 ประมาณ 35 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าสูทางหลวงหมายเลข 1175 อีกประมาณ 1 กิโลเมตร จะเห็นวัดพระบรมธาตุอยู่ทางซ้ายมือ หรือหากใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 1 ตรงกิโลเมตรที่ 442 เข้าอำเภอบ้านตากผ่านสะพานข้ามแม่น้ำปิ แล้วเลี้ยวขวาผ่านวัดท่านา จนถึงสามแยกแล้วเลี้ยวซ้าย 200 เมตร ถึงวัดพระบรมธาตุอยู่ทางซ้ายมือ

เจดีย์ยุทธหัตถี หรือ เจดีย์เฉลิมพระเกียรติพระเจ้ารามคำแหงมหาราช

เจดีย์ ยุทธหัตถี หรือ เจดีย์เฉลิมพระเกียรติพระเจ้ารามคำแหงมหาราช หรือเจดีย์เฉลิมพระเกียรติพระเจ้ารามคำแหงมหาราช หรือ ชาวบ้านเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เจดีย์ชนช้าง ตั้งอยู่บนดอยช้าง ตำบลเกาะตะเภา ดอยช้างเป็นเนินดินเล็ก ๆ อยู่ทางเหนือของดอยพระธาตุไปเล็กน้อย เจดีย์นี้เป็นโบราณสถาน สร้างในสมัยสุโขทัยมีอายุราว 700 ปีเศษ องค์เจดีย์ยุทธหัตถีอยู่เยื้องกับวัดพระบรมธาตุประมาณ 200 เมตร ลักษณะของเจดีย์ยุทธหัตถีเป็นศิลปะแบบสุโขทัยคล้ายกับองค์อื่นๆ ทั่วไปในเมืองสุโขทัย ก่ออิฐถือปูนฐานกว้าง 12 เมตร เป็นเรือนธาตุรูปสี่เหลี่ยมย่อมุมขึ้นไป สูง 16 เมตร เหนือเรือนธาตุทำเป็นลำสี่เหลี่ยมย่อมุมตลอดถึงยอดที่เป็นทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ยอดสุดมีฉัตร มีร่องรอยการซ่อมแซมตลอดมา แต่ไม่เสียรูปทรงเดิม ฐานพุ่มมีลายปั้นเป็นรูปหน้าสิงห์สวยงาม หน้าสิงห์ด้านทิศเหนือยังสมบูรณ์ ด้านอื่นๆ ชำรุด องค์เจดีย์ส่วนใหญ่มีคราบตะไคร่น้ำจับอยู่ทั่วไป จะมีการขุดแต่ง และทำความสะอาดรอบบริเวณเจดีย์ในช่วงใกล้วันเทศกาล เป็นงานเดียวกับงานไหว้พระธาตุบ้านตากจากหลักฐานศิลาจารึกหลักที่ 1 พ่อขุนรามคำแหงมหาราชกล่าวว่า ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด ได้ยกทัพมาตีกรุงสุโขทัย พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้ทรงบกทัพมาป้องกันเมืองตาก พ่อขุนรามคำแหงมหาราช โอรสเสด็จติดตามไปด้วยและพทัพทั้งสองได้ปะทะกัน ณ ที่แห่งนี้ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นฝ่ายเพลี่ยงพล้ำเสียทีแก่ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด พ่อขุนรามคำแหงมหาราชจึงได้ไสช้าง เบิกพลเข้าช่วยจนได้รับชัยชนะจึงได้สร้างเจดีย์ขึ้น เพื่อเฉลิมพระเกียรติในการทำยุทธหัตถีมีชัยชนะ

วัดดอนแก้ว

ตั้งอยู่หลังที่ว่าการอำเภอแม่ระมาด เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหินอ่อนอันเป็นปฏิมากรรมของชาวพม่าที่มีอยู่ 3 องค์ในโลก แกะสลักจากหินอ่อนทั้งแท่ง โดยองค์แรกประดิษฐานที่ประเทศอินดีย องค์ที่สองประดิษฐานที่ประเทศปากีสถาน และองค์ที่สามประดิษฐานที่วัดดอนแก้ว หมู่ที่ 6 อำเภอแม่ระมาด โดยเมื่อเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2465 ขุนระมาดไมตรี และชาวแม่ระมาดได้ไปติดต่อขอเช่าบูชามาจากพม่าในราคา 800 รูปี มีขนาดหน้าตักกว้าง 50 นิ้ว สูงจากฐานถึงเศียร 63 นิ้ว โดยนำมาทางเรือผ่านเมืองมะละแหม่ง แล้วเดินทางต่อจนถึงท่าเรือจองโต ท่านครูบาขาวปี ซึ่งเป็นที่เคารพของชาวบ้านและชางเมืองเหนอได้ไปรับพระพุทธรูปหินอ่อนแล้ว อัญเชิญขึ้นบนเกวียนผ่านเมืองกรุกกริก บ้านจ่อแฮ (บ้านกะเหรี่ยง) การเดินทางยากลำบาก และล่าช้าเพราะเป็นภูเขาสูงชันต้องนอนพักแรมระหว่างทางถึงหมู่บ้านป๋างกาง การเดินทางจึงรวดเร็วขึ้นเพระาเป็ฯพื้นราบกระทั่งถึงหมู่บ้านเมียวดี ริมฝั่งแม่น้ำเมย เขตประเทศสหภาพเมียนมาร์ และข้ามแม่น้ำเมยเข้าสูประเทศไทยที่บ้านท่าสายลวด เขตแม่สอด และเดินทางไปยังอำเภอแม่ระมาดจึงอัญเชิญพระพุทธรูปหินอ่อนประดิษฐาน ณ วิหารวัดดอนแก้ว ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2465 รวมเวลาที่ไปอัญเชิญพระพุทธรูปหินอ่อนในครั้งนี้เป็นเวลา 12 วัน


ศาลเจ้าพ่อพะวอ

ตั้งอยู่บนเนินดินเชิงเขาพะวอ ถนนสายตาก - แม่สอด บริเวณกิโลเมตรที่ 62 - 63 ศาลนี้เป็นที่เคารพนับถือของชาวเมืองตาก และชาวอำเภอแม่สอดมาก เล่ากันว่าท่านเป็นนักรบชาวกะเหรี่ยง สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงแต่งตั้งให้เป็นนายด่านอยู่ที่ด่านแม่ละเมา เพื่อคอยป้องกันข้าศึกมิให้ข้ามเขามาได้ เดิมทีศาลเจ้าพ่อพะวออยู่อีกด้านหนึ่งของเขา แต่เมื่อตัดถนนไปทางใหม่จึงได้มาสร้างศาลขึ้นใหม่ มีผู้เล่าว่าศักดิ์สิทธิ์มาก ถ้าใครไปล่าสัตว์ในบริเวณเขาพะวอแล้วมักจะเกิดเหตุต่างๆ เช่น รถเสีย เจ็บป่วย หรือหลงทาง และเพราะเหตุที่เจ้าพ่อพะวอเป็นนักรบ จึงชอบเสียงปืน ทำให้ผู้ที่เดินทางมาสักการะมักยิงปืนถวาย จุดประทัด หรือบีบแตรถวายท่านเป็นการแสดงความเคารพ

เขื่อนภูมิพล

เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เขื่อนยันฮี เป็นเขื่อนเอนกประสงค์แห่งแรกในประเทศไทย สร้างเป็นเขื่อนคอนกรีตรูปโค้งขนาดใหญ่ที่สูงที่สุดในประเทศไทย และเอเชียอาคเนย์ จัดอยู่ในอันดับ 8 ของโลก มีความสูงจากฐานถึงสันเขื่อน 154 เมตร กั้นแม่น้ำปิงที่เขาแก้ว อำเภอสามเงา สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า และด้านชลประทาน ความยาวของลำน้ำจากเขื่อนถึงอำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นระยะทาง 207 กิโลเมตร รอบบริเวณเขื่อนภูมิพลเป็นแหล่งพักผ่อน และเพาะพันธุ์สัตว์น้ำจืดด้วย นอกจากนั้นทางเขื่อนภูมิพลได้จัดทำ เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ สองฝั่งลำน้ำปิงเหนืออ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพลในเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่ตื่น เป็นเส้นทางเดินศึกษาสภาพความหลากหลายของพื้นที่ป่าดิบเขา และการฟื้นฟูสภาพป่า ตลอดจนการศึกษาลักษณะสภาพป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ความหลากห&