Thailands Central and Northern regions, and connecting to the Northeastern region, Phitsanulok is undeniably an important hub and an ideal base for travelers wishing to explore the lower North and western Northeast. Phitsanulok, however, is not just a stopover for tourists, but is a province with promising tourism opportunities.
Phitsanulok City spans the banks of Maenam Nan and has Maenam Kwae Noi running through it. Therefore, it is locally known and historically referred to as Song Kwae City (song means two and kwae means a river). Most of Phitsanulok's terrain is flatlands, with one third of the area being mountain ranges on the north and the east. Its unique natural endowments including natural parks and waterfalls make a trip to Phitsanulok worthwhile.
Apart from its exceptional natural charisma, Phitsanulok provides visitors with an opportunity to explore notable chapters of Thailand's history. For example, remains of an ancient community dating back between 2,000-4,000 years, including old stone axes, was found here. In addition, the old temple of Wat Chula Mani, situated 5 kilometers south of the city, was built even before the Sukhothai Kingdom burst into power.
Phitsanulok prospered along with the powerful Sukhothai (1238-1378) and Ayutthaya (1350 1767) Kingdoms. In particular, it played a strategic role in the Ayutthaya era when it had become the Kingdoms royal capital for 25 years during the reign of King Borom Trailokanat.
Phitsanulok is also the birthplace of King Naresuan the Great (reigned 1590-1605) the legendary King who declared Ayutthayas independence from Burma in 1584. King Naresuan the Great is known for his victorious and honorable single hand combat on elephant back Yutthahatti against a Burmese Crown Prince. His heroic power and strong dedication to expelling the invaders from his motherland saved the country, and truly united the Kingdom which later was known as Siam and currently known as Thailand.
Phitsanulok was also a strategic location for other Ayutthaya Kings as it was a major center for military recruitment and a training camp when Ayutthaya waged wars with Burma.
By Car
a) From Bangkok, use Highway No. 1 to Wang Noi, then proceed to Nakhon Sawan Province along Highway No. 32 via Ayutthaya, Ang Thong and Sing Buri Provinces. After that, take Highway No. 117 to Phitsanulok. The total distance is 337 kilometers.
b) Take the same Highway to Sing Buri Province and switch to Highway No. 11 (In Buri-Tak Fa route), then turn into Highway No. 12 and proceed to Phitsanulok Province via Wang Thong District. The total distance is 450 kilometers.
By Bus
Buses depart from Bangkok's Northern Bus Terminal (Mochit 2 Bus Terminal) to Phitsanulok. Contact Transport Co. Ltd. at Tel: 0 2936 2852-66; Phitsanulok Yan Yon Tour at Tel: 0 2936 2924-5; Choet Chai Tour at Tel: 0 2936 0199 and Win Tour at Tel: 0 2936 3753.
By Rail
Daily regular trains depart daily from Bangkok's Hua Lamphong Railway Station. Call 1690 or visit www.railway.co.th for more information.
Trains leave Bangkok for Phitsanulok daily from 7.05 a.m. to 11.30 p.m., 14 times a day. There are express trains (Sprinters) from Bangkok to Phitsanulok departing daily from 8.25 a.m. to 11.10 p.m., 5 times a day.
Trains leave Phitsanulok for Bangkok daily, from 2.05 a.m. to 11.29 p.m., 14 times a day. There are daily express trains (Sprinters) departing from Phitsanulok to Bangkok from 2.05 a.m. to 11.00 p.m., 4 times a day.
By Air
Thai Airways International operates several direct flights daily from Bangkok to Phitsanulok. The trip takes 40-45 minutes. For more information, contact the Bangkok Office at tel. 0 2280 0060, 0 2628 2000, Phitsanulok Office at tel. 0 5525 8020 or visit www.thaiairways.com
By Rental Car
AVIS has a small operation at the airport. Call tel. 055 242 060 for reservations and information.
Travelling around the city is easy as the town is relatively compact. Sam lor will cost 30-50 baht/person, depending on the destination and city buses are also available (4-6 baht/person, non air-conditioned). The station is located on Thammabucha Road, near the train station.
Phra Si Mahathat Temple (Wat Phra Si Mahathat)
Locally dubbed as "Wat Yai", the complex is considered the most important temple in Phitsanulok. Housing Thailand's famous Phra Phutthachinnarat, Wat Yai is located at the foot of Naresuan Bridge on the city side of the river. The temple was built during the reign of Phra Maha Thamma Racha I (Phraya Lithai) in 1357.
Phra Phutthachinnarat is considered the most beautiful Buddha image in Thailand. The large Sukhothai-style bronze statue was cast in 1357 by the order of King Maha Thamma Racha I of Sukhothai. The statues unique feature is the flame-like halo a symbol of spiritual radiance. In 1931, King Ekatotsarot (King Naresuan's younger brother) commanded a gold coating of the image, making it outstanding against the dark backdrop.
Today, thousands of visitors, both Thais and foreigners, flock to Wat Yai just to get a glimpse of Phra Phutthachinnarat. Most of contemporary Buddha images are cast using Phra Phutthachinnarat as a model. There is even a saying that, your trip to Phitsanulok is not complete without visiting Wat Yai to pay respect to Phra Phutthachinnarat. Only the Emerald Buddha situated in the Grand Palace, Bangkok, is more highly respected by Thais. A celebration to honour the statue is held annually in late January.
Other outstanding features of the temple (vihan in Thai) include the large pearl-inlaid wooden doors, the gateway to see Phra Phutthachinnarat. The doors were completed in 1756 by Ayutthaya's royal craftsmen. Inside the vihan are the Italian marble floor, two painted pulpits (thammas) placed to one side, and murals illustrating the life of the Lord Buddha.
Apart from Phra Buddha Chinnarat, there are other Buddha images worth seeing. Phra Attharot, a standing Buddha statue cast in same period as Phra Phutthachinnarat, is situated in front of the large Phra Prang (pagoda) behind the Viharn.
A 36-metre high Phra Prang was built in the early Ayutthaya style. There are staircases leading up to the place where relic of the Lord Buddha is enshrined.
There is also a small museum, which exhibits a good collection of Sukhothai and Ayutthaya-era Buddha images and related religious items that is worth visiting. Visitors are advised to dress conservatively.
Wat Phra Si Mahathat Woramahawihan is open daily between 6.30 a.m. and 6.00 p.m. The Phra Phutthachinnarat National Museum is open from Wednesday to Sunday, between 9.00 a.m. and 4.00 p.m. The museum is closed on public holidays, for more information, click www.thailandmuseum.com.
Phu Hin Rong Kla National Park
Phu Hin Rong Kla is a distinctive national park with a unique mixture of scenic attractions and historical sites. It was once the stage of armed conflicts between two extreme political ideologies. The Park covers a total area of 191,875 rai of land (76,750 acres) and is approximately 130 kilometers from Phitsanulok city. It can be reached by taking Highway No. 12 and turning left at Km.68 marker into Highway No. 2013, a road leading to Nakhon Thai District.
The park area is mainly covered with lush green forests, several awesome waterfalls, and a vast plain of rocks with cracks scattered all around. The highest point of the park is 1,617 meters above sea level. Here, rock formations are naturally formed into different shapes beyond your wildest imagination. Some rocky grounds have deep splits (Lan Hin Taek), while others have uneven formations.
Apart from natural attractions, the park offers opportunities to explore many of its historical sites that tell the story of national political conflicts.
Because Phu Hin Rong Kla was the strategic headquarters of the Communist Party of Thailand (CPT) during 1967 to 1982, the area was declared as a red area by the Thai government. For nearly two decades, the site had become a strategic battlefield between the Royal Thai Army and the CPT. Phu Hin Rong Kla was the perfect location for the CPT to fight the military. Its remote, closed mountainous area was superb for an elusive defense. It was not until 1982 that the conflict was overcome when the government granted amnesty to all the students who had joined the CPT. In 1984, Phu Hin Rong Kla was declared a National Park.
During the CPT’s golden era, a hospital, a school of political and political tactics, living quarters, an air-raid shelter and other necessary facilities were set up. Today, visitors to Phu Hin Rong Kla can travel along the parks main road to witness the remains of a rustic meeting hall, the political school, and the administration building.
There is also a trail leading to Lan Hin Pum, an area of jutting rocks that the CPT used as an air-raid shelter. From the spot, it is possible to see the remains of the CPT headquarters with a small museum displaying some CPT weapons and medical instruments. Follow another trail to Pha Chu Thong, the cliff where a red flag was raise when the CPT gained a victory.
Tourists or visitors wishing to stay overnight are advised to make advance reservations at the National Park Division, Forestry Department tel. 0 5523 3527 or 0 2561 4292, or email: rongkla-00@thaimail.com, Website : www.dnp.go.th. Accommodations and tents are available.
Getting There :
From Phitsanulok, take a public bus 68 kilometers towards Lomsak. At Ban Yang, take a left and travel 29 kilometers to Nakhon Thai District. From Nakhon Thai, take a mini-van (song-taeo) the remaining 31 kilometers to the park.
Thung Salaeng Luang National Park
Against a backdrop of high mountain ranges is the Savannah-type grassland of Thung Salaeng Luang. Covering an area of 16 square kilometres, the park is naturally endowed with pine trees and wild flowers which blossom in virgin jungles. The parks mountain ranges are watersheds of several streams which are a source of the famous Maenam Nan. Its area spreads across Phitsanulok and Phetchabun provinces.
The park headquarters located at Km. 80 on Highway No. 12 is where information on the park and accommodations can be obtained. Most of the park’s attractions are superb for trekking. The route starts from the sub-office at Ban Nong Mae Na (off Highway No.12 at Km. 100 marker) to Khao Kho.
The route allows visitors to enjoy the marvelous scenery of Thung Salaeng Luang and Thung Phaya grassland hemmed in by pine trees and lush forests. Another attraction along the way is Thung Non Son, a flatland located on top of the mountain, at the heart of the park. It is famous for its wild flowers which are in their full bloom from October through December. The flatland is accessible through a 16 kilometers clay road and a walking route of 15 kilometers from Ban Nong Mae Na. There is also a study trail at the Mae Na park station which is superb for exploring the entire ecological system of the park.
Kaeng Wang Nam Yen a 50 meter x 100 meter wide rapid, suitable for white-water rafting, is located about 5 kilometers from Nong Mae Na station.
Admission : adult 400 baht, child 200 baht
Visitors who wish to stay overnight in the park are required to make arrangements with the park rangers in advance. Call 05 526 8019 or email : reserve@dnp.go.th for more details.
Phu Soi Dao National Park
Phu Soi Dao National Park is located in both Chat Trakan district of Phitsanulok Province and Nam Pard District of Uttaradit Province. Occupying a total area of 48,962.5 rai of land (equivalent to 58,750 acres), the park stretches along the Thai-Laos border with the highest peak measured at 2,102 meters above sea level. The climate park is cool throughout the year and visitors are able to see several species of wild flowers.
One of the most distinctive features of the park is the savanna field amidst the dense pine trees. Another attraction worth visiting is the five-tiered Namtok Phu Soi Dao which is located quite near to the park office. Larn Paa Son which can be reached in 4-5 hours via mountainous trails is also a highly recommended place for an overnight stay. In addition, Namtok Sai Tip, the next waterfall on the way, is a place where visitors can marvel at moss and lichen covered cliff. Advanced notice to Park Officers is required and highly recommended. Call 05 541 9234-5 or email reserve@dnp.go.th for more camping and travel information.
How to get to Phu Soi Dao
From Phitsanulok
By Car: take the Phitsanulok - Wat Bot - Ban Pong Cae - Chat Trakan - Phu Soi Dao route where the total distance is 177 kilometers. Alternatively, take the Phitsanulok - Nakhon Thai - Chat Trakan - Phu Soi Dao route where a total distance of 154 kilometers.
By Bus: there are buses departing from the city at 6.00 a.m., 7.20 a.m., 9.30 a.m., 11.30 a.m., 12.50 p.m. and 4.30 p.m.
Wat Ratchakhiri Hiranyaram
The hilltop temple houses two Buddha’s footprints, one is a replica and the other is on the face of a western cliff. A celebration is held annually in February.
Located on Khao Samo Khlaeng, Ban Samo Khlaeng, approximately 14 kilometres from Phitsanulok on Highway 12 and 3 kilometres before reaching Amphoe Wang Thong. The hilltop temple houses two Buddha’s footprints, one is a replica and the other is on the face of a western cliff. A celebration is held annually in February. The temple also houses a thousand-handed Guan Yin statue, three tons in weight, from Hangzhou, China, which was carved out of white jade and sent here in 1992. On the mountain, there is a pond that never runs dry since ancient time. Uphill from the Guan Yin statue, there is a shrine of Heng Jia, the monkey hero, which is frequented by Thai Chinese visitors. The topmost viewpoint of the mountain is the location of Phra Mahathat Chedi Si Bowon Chinarat where the Buddha’s forehead bone relic is enshrined. The Chedi has a lotus-shaped spire, with a walking Buddha image on each side of its square base.
Textile Museum and Life Museum
The Textile Museum displays textiles and garments from different sources domestically and internationally. The museum houses documents and research studies regarding textiles and royal suits of Their Majesties the King and Queen that were conferred to the university.
Located on the second floor of the multi-purpose building of Naresuan University, the Textile Museum displays textiles and garments from different sources domestically and internationally. The museum houses documents and research studies regarding textiles and royal suits of Their Majesties the King and Queen that were conferred to the university. Nearby is a Life Museum that displays the Thai way of cotton weaving, from cotton growing to high-class techniques in weaving. A weaving demonstration is available every weekend. Both museums are open daily from 8.30 a.m. - 4.30 p.m. A guide is available. For more information, Tel: 0 5526 1000 - 4 ext. 1218, 1149 or www.thaiextilemuseum.com. Naresuan University (Thung Nong O) is located between Kilometre 118-119 of Highway 117.
Thai Bird Garden
Located opposite to the folk museum, it is a bird conservation centre that displays endangered as well as extinct birds of Thailand such as jambu fruit-dove, helmeted hornbill, and birds mentioned in Thai literature; namely, oriole, barbet, common koel, green magpie, blue magpie, etc.
Located opposite to the folk museum, it is a bird conservation centre that displays endangered as well as extinct birds of Thailand such as jambu fruit-dove, helmeted hornbill, and birds mentioned in Thai literature; namely, oriole, barbet, common koel, green magpie, blue magpie, etc. The park entertains visitors with some birds that can imitate human’s voice greeting both in Thai and English such as parrot as well as those singing beautifully like black-throated laughing thrush, white-crested laughing thrush, and white rumped shama. The garden is open daily from 8.30 a.m. - 5.00 p.m. Admission is 50 baht for adults and 20 baht for children. For more information, call Tel: 0 5521 2540 or www.geocities.com/thaibirdgarden.
Nang Phaya Temple (Wat Nang Phaya)
Situated near Wat Ratburana is Wat Nang Phaya which believed to have been built during the same period. The temple is famous for extensive collection of the highly coveted Nang Phaya (small Buddha images used as amulets) which was found underneath.
Chula Mani Temple (Wat Chula Mani)
Located approximately 5 kilometers from town on the east bank of Nan river, Wat Chula Mani is the oldest temple in town. It was built prior to the Sukhothai era and was once the spot where the original town was located. Wat Chula Mani is a temple with long history. King Borom Trailokanat of Ayutthaya and 2,000 of his followers were ordained as monks at this temple in 1416. The Khmer-style pagoda attracts students and archaeologists to explore the beautiful, intricate swan design. Moreover, the Mondop contains a Holy Footprint and an inscription stone built by King Narai the Great of Ayutthaya.
Chedi Yot Thong Temple (Wat Chedi Yot Thong)
Located on Phaya Suea Road, outside Phitsanulok walls, Wat Chedi Yot Thong is the only temple in the province that has a lotus bud-shaped Chedi in the original Sukhothai style.
Shrine of King Naresuan the Great
Located on the other side of Maenam Nan, opposite the main town, the Shrine of King Naresuan the Great is in the compound of Phitsanulok Phittayakom School. The Shrine was built in 1961 at the site of the Chan Palace where King Naresuan the Great was born and raised. The Shrine represents the Thais utmost respect to their beloved King who liberated the nation from Burmese power.
Within the Shrine is a seated image of King Naresuan the Great pouring water from a golden container symbolizing the declaration of Ayutthaya's independence from Myanmar.
To reach the site from the city, pass through Naresuan Bridge and turn right at the foot of the bridge, drive for another 200 meters and turn left to enter the road along Maenam Nan, then proceed for another 700 meters.
Sgt. Maj. Dr. Thavi Folkore Museum
This is definitely the place for those wishing to learn more about the Thai lifestyle. Step inside a group of Thai pavilions and explore a private collection of antique items representing Thai rural life. They include indigenous arts, pottery, farming and trapping equipment and household items. Old photographs revealing Phitsanulok's good old days are also on display.
The museum was established by Sgt. Maj. Dr. Thavi Buranakhate, who is recognized as a leader in the area of sculpture and indigenous art preservation. He is renowned for his knowledge on Northern Thai folklore. In addition, he is the owner of a Buddha Casting Foundry located just opposite the museum.
The Folklore Museum received the Excellence in Tourism Award from the Tourism Authority of Thailand in 1998 and is located on Wisutkasat Road (Sanam Bin Road), approximately 5 kilometers from the town center. The folklore museum is open daily, except for Monday, from 8.30 a.m. - 4.30 p.m. Admission is 100 baht. For more information, call Tel: 0 5521 2749, 0 5525 8715, 0 5530 1668. His Buddha Casting Foundry is located just opposite the museum. Appointment is required. Call 0 5525 8715.
Whitewater rafting
An exciting activity, visitors are provided with a truly unique experience while whitewater rafting especially with the refreshing natural scenery along Maenam Kek in Wang Thong District. The entire trip takes only 2.5 hours to complete. The best time to go downstream is between June and October. Reservations can be made at your hotel or at any resorts located along Highway No. 12 .
Tham Duean Tham Dao
Situated in the western territory of Thung Salaeng Luang National Park, the cave has a subterranean river running through it. Visitors have to climb over rocks at the cave’s entrance to get in, just to find a large chamber and subterranean river. At the length of 1.4 kilometres, the cave is beautified with stalagmites and stalactites. It can be visited during the dry season and a personal torch is required. High water during rainy season makes it dangerous to visit. To get there: The cave is 85 kilometres from downtown Phitsanulok. Motorists can use Highway 12, then use Highway 11 and 1115 to Amphoe Noen Maprang. The cave is 6 kilometres away.
City Pillar Shrine
Designed by the Fine Arts Department, the Prang-shaped building houses the city pillar which is made of different kinds of sacred wood in its various parts and has gone through a religious ceremony at the Temple of the Emerald Buddha in Bangkok.
The city pillar is located in the shrine on the western bank of the Nan River, opposite the Mueang Phitsanulok District Administration Office. Designed by the Fine Arts Department, the Prang-shaped building houses the city pillar which is made of different kinds of sacred wood in its various parts and has gone through a religious ceremony at the Temple of the Emerald Buddha in Bangkok.
Aranyik Temple (Wat Aranyik)
This is a Sukhothai-era temple located in the same vicinity which is surrounded by moats.
พิษณุโลก : ข้อมูลทั่วไป
พระพุทธชินราชงามเลิศ ถิ่นกำเนิดพระนเรศวร
สองฝั่งน่านล้วนเรือนแพ หวานฉ่ำแท้กล้วยตาก
ถ้ำและน้ำตกหลากตระการตา
พิษณุโลก เป็นเมืองใหญ่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง มากมีไปด้วยแหล่งประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และธรรมชาติของสายน้ำและป่าเขาที่สวยงามน่าท่องเที่ยว อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 377 กิโลเมตร จังหวัดพิษณุโลกมีพื้นที่ประมาณ 10,815 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาและที่ราบสลับป่าไม้ทางด้านตะวันออก นอกนั้นเป็นที่ราบลุ่มอยู่โดยทั่วไป มีแม่น้ำสำคัญคือ แม่น้ำน่านซึ่งไหลผ่านบริเวณตัวเมือง แบ่งการปกครองออกเป็น 9 อำเภอคือ อำเภอเมือง อำเภอวังทอง อำเภอพรหมพิราม อำเภอบางระกำ อำเภอบางกระทุ่ม อำเภอนครไทย อำเภอวัดโบสถ์ อำเภอชาติตระการ และอำเภอเนินมะปรางประวัติศาสตร์ หลักฐานการสร้างเมืองพิษณุโลกมีมาแต่พุทธศตวรรษที่ 15 สมัยขอมมีอำนาจปกครองแถบนี้ แต่เดิมมีชื่อเรียกว่า “เมืองสองแคว” เนื่องจากเมืองนี้ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำน่าน และแม่น้ำแควน้อย หรือบริเวณที่ตั้งของวัดจุฬามณีในปัจจุบัน เมื่อประมาณปี พ.ศ. 1900 สมเด็จพระมหาธรรมราชาลิไทแห่งกรุงสุโขทัย ได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองมาตั้งอยู่ ณ ตัวเมืองปัจจุบัน โดยมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวง
สมัยอยุธยา เมืองพิษณุโลกทวีความสำคัญมากขึ้น เพราะเป็นเมืองกึ่งกลางระหว่างกรุงศรีอยุธยาและอาณาจักรฝ่ายเหนือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถทรงปฏิรูปการปกครองและได้เสด็จมาประทับที่เมืองนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2006 จนสิ้นรัชกาลในปี พ.ศ. 2031 ช่วงนั้นพิษณุโลกเป็นราชธานีแทนกรุงศรีอยุธยานานถึง 25 ปี หลังรัชสมัยของพระองค์พิษณุโลกมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวง เป็นหน้าด่านสำคัญที่จะสกัดกั้นกองทัพพม่า เมื่อครั้งพระนเรศวรมหาราชดำรงฐานะพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลก ระยะนั้นไทยตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงรวบรวมชายฉกรรจ์ชาวพิษณุโลกกอบกู้อิสรภาพชาติไทยได้ใน ปี พ.ศ. 2127
ในสมัยกรุงธนบุรี พิษณุโลกเป็นสถานที่ตั้งมั่นรับศึกพม่า เมื่อครั้งกองทัพของอะแซหวุ่นกี้มาตีเมืองพิษณุโลก ในปี พ.ศ. 2318 อะแซหวุ่นกี้ต้องเผชิญการต่อสู้อย่างทรหดกับเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุ รสีห์ถึงขนาดต้องขอดูตัว และได้ทำนายเจ้าพระยาจักรีว่าต่อไปจะได้เป็นกษัตริย์
ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงดำริให้รื้อกำแพงเมืองพิษณูโลกเพื่อ ไม่ให้ข้าศึกใช้เป็นที่มั่น ครั้นถึงปี พ.ศ. 2437 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะเมืองพิษณุโลกขึ้นเป็นมณฑลเรียกว่า มณฑลพิษณุโลก ต่อมาเมื่อยกเลิกการปกครองแบบมณฑลแล้ว พิษณุโลกจึงมีฐานะเป็นจังหวัดเรื่อยมาจนปัจจุบัน
หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
- ประชาสัมพันธ์จังหวัด โทร. 0 5525 1394
- โรงพยาบาลพุทธชินราช โทร. 0 5521 9842-4
- โรงพยาบาลพิษณุเวช โทร. 0 5521 9941
- โรงพยาบาลรวมแพทย์ โทร. 0 5521 9309-10
- โรงพยาบาลรัตนเวช โทร. 0 5521 0820-1
- โรงพยาบาลอินเตอร์เวชการ โทร. 0 5521 8777, 0 5521 7800
- สภอ.เมือง โทร. 0 5525 8777, 0 5522 5491
- ตำรวจท่องเที่ยวพิษณุโลก โทร. 0 5524 5357-8
Link ที่น่าสนใจ
ททท.สำนักงานพิษณุโลก
http://www.tourismthailand.org/phitsanulok
สำนักงานจังหวัดพิษณุโลก
http://www.phitsanulok.go.th
ชมรมนักวิทยุ CB57 ร่วมใจ จ.พิษณุโลก
http://www.cb57.net
พิษณุโลก : ข้อมูลการเดินทาง
ข้อมูลการเดินทางของ จ. พิษณุโลก
รถยนต์
จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) ถึงวังน้อยแล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 32 (สายเอเซีย) ผ่านอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท เข้านครสวรรค์ แล้วใช้เส้นทางสาย 117 ตรงสู่พิษณุโลก รวมระยะทาง 337 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่สะดวกที่สุด หรือจากสิงห์บุรี ใช้เส้นทางสายอินทร์บุรี-ตากฟ้า (ทางหลวงหมายเลข 11) จนถึงทางหลวงหมายเลข 12 (พิษณุโลก-หล่มสัก) ที่เขตอำเภอวังทอง เลี้ยวซ้ายไปอีก 17 กิโลเมตร เข้าสู่พิษณุโลกรวมระยะทางประมาณ 450 กิโลเมตร หากใช้เส้นทางที่ผ่านเพชรบูรณ์และหล่มสัก แยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 12 ช่วงหล่มสัก-พิษณุโลกระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร จะผ่านแหล่งท่องเที่ยวสองข้างทางหลายแห่ง
รถไฟ
ทางการรถไฟ แห่งประเทศไทย จัดบริการรถด่วนพิเศษ (สปรินท์เตอร์) รถเร็ว และรถธรรมดา จากกรุงเทพฯ ไปพิษณุโลกทุกวัน สอบถาม หน่วยบริการเดินทาง โทร. 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020 สถานีรถไฟพิษณุโลก โทร. 0 5525 8005 หรือ www.railway.co.th
รถโดยสารประจำทาง
จาก สถานีขนส่งหมอชิต 2 มีบริการรถโดยสารธรรมดา และรถโดยสารปรับอากาศไปยังพิษณุโลกตลอดวัน สอบถามรายละเอียดได้ที่ บริษัท ขนส่ง จำกัด โทร. 0 2936 2852-66 หรือ www.transport.co.th และที่สถานีขนส่งพิษณุโลก โทร. 0 5524 2430 รถประจำทางปรับอากาศ ติดต่อ พิษณุโลกยานยนต์ทัวร์ โทร. 0 2936 2924-5 หรือ 0 5525 8647 เชิดชัยทัวร์ โทร. 0 2936 0199 หรือ 0 5521 1922 วินทัวร์ โทร. 0 2936 3753 หรือ 0 5524 3222
นอกจากนี้ยังมีรถ บขส. บริการระหว่างพิษณุโลกกับจังหวัดต่างๆ ได้แก่ อุตรดิตถ์ แพร่ ลำปาง เชียงใหม่ สุโขทัย ตาก (แม่สอด) พิจิตร เพชรบูรณ์ และขอนแก่น ทุกวัน
เครื่องบิน
บริษัท การบินไทย จำกัด มีเที่ยวบินระหว่างกรุงเทพฯ และพิษณุโลกทุกวัน ใช้เวลาเดินทาง 50 นาที สอบถามกำหนดการเดินทาง โทร. 1566 ติดต่อสำรองที่นั่ง โทร. 0 2280 0060 หรือ 0 2628 2000, 0 2356 1111 หรือที่สำนักงานพิษณุโลก โทร. 0 5524 2971-2 หรือ www.thaiairways.com
การคมนาคมภายในตัวจังหวัด จ.พิษณุโลก
การเดินทางจากอำเภอเมืองพิษณุโลกไปยังอำเภอต่าง ๆ
- อำเภอบางระกำ 17 กิโลเมตร
- อำเภอวังทอง 17 กิโลเมตร
- อำเภอวัดโบสถ์ 30 กิโลเมตร
- อำเภอบางกระทุ่ม 35 กิโลเมตร
- อำเภอพรหมพิราม 40 กิโลเมตร
- อำเภอเนินมะปราง 75 กิโลเมตร
- อำเภอนครไทย 97 กิโลเมตร
- อำเภอชาติตระการ 136 กิโลเมตร
พิษณุโลก : วัฒนธรรมประเพณี
งานสมโภชน์ศาลหลักเมือง พิษณุโลก
งานสมโภชน์ศาลหลักเมือง พิษณุโลก
วันที่ 8 เมษายน 2552
ณ บริเวณศาลหลักเมืองพิษณุโลก สนามศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก
กิจกรรม
พิธีบวงสรวงศาลหลักเมือง กิจกรรมสมโภชน์ มหรสพ ลิเก ภาพยนตร์ ดนตรี มหกรรมสินค้า นิทรรศการสินค้าการเกษตร และ OTOP
สอบถามรายละเอียด
ที่ทำการปกครองอำเภอเมือง โทร. 0 5525 8007
ประเพณีสงกรานต์และมหกรรมอาหาร จังหวัดพิษณุโลก
วันที่ 9 - 15 เมษายน 2552
ณ สวนสาธารณะ สวนชมน่านเฉลิมพระ เกียรติฯ ริมน้ำน่านฝั่งตะวันออก ถนนพุทธบูชา อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
กิจกรรม
กิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ พิธีสรงน้ำพระ การทำบุญตักบาตร ขบวนแห่นางสงกรานต์ ถนนคนเล่นน้ำ การโชว์น้ำพุประกอบแสงเสียง การจำหน่ายอาหารกว่า 200 ชนิด การออกร้านภาคเอกชน และราชการ การแสดงบนเวทีจากศิลปินดัง การแสดงนาฏศิลป์ไทย ฯลฯ
สอบถามรายละเอียด
เทศบาลนครพิษณุโลก โทร. 0 5525 9832, 0 5523 1400
ประเพณีแข่งเรือยาวพิษณุโลก
ประวัติ / ความเป็นมา
เรือยาวของพิษณุโลกมีกำเนิดที่บ้านท่าโรงตำบลวัดพริก อำเภอเมือง ทุกปีจะมีประเพณีถวายผ้าห่มพระพุทธชินราช หลังจากห่มผ้าพระพุทธชินราชแล้วก็มีการแข่งเรือในแม่น้ำน่านหน้าวัดเพื่อ ความสามัคคีระหว่างหมู่คณะ จึงสืบเนื่องมาเป็นงานประเพณีแข่งเรือยาวในปัจจุบัน
กำหนดงาน
ขึ้นอยู่กับผู้จัดงาน สามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่ www.tat.or.th/festival
กิจกรรม / พิธี
การแข่งขันจะเริ่มตั้งแต่ประมาณ 10.00น. เป็นต้นไป เรือแต่ละลำจะตกแต่งอย่างงดงาม มีการตกแต่งขบวนแห่เป็นรูปแบบต่าง ๆ เช่น ชยวนรำมังคละ ขบวนคนป่า ฯลฯ ก่อนการลงแข่งจะมีการบวงสรวงแม่ย่านางเรือ การแข่งขันเป็นแบบแพ้คัดออก และการตัดสินจะถือสุดโคนเรือเป็นเกณฑ์ โดยไม่นับเครื่องตกแต่งหัวเรือ
ประเพณีแห่นางด้ง – นางควาย
ประวัติ / ความเป็นมา
การแห่นางด้ง - นางควาย เป็นประเพณีพื้นบ้านของชาวอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลกเป็นประเพณีเกี่ยวกับการขอฝน อันเกี่ยวข้องกับความเจริญงอกงามของพืชพันธุ์ธัญญาหาร เพราะชาวนครไทยสมัยโบราณมีอาชีพในการทำไร่ทำนากันทุกครัวเรือน ดำรงชีวิตอยู่ด้วยธรรมชาติอย่างแท้จริง ซึ่งการที่จะให้พันธุ์พืชเต็มไปด้วยความอุดมสมบูรณ์ ต้องอาศัยน้ำจากฝนที่ตกต้องตามฤดูกาล ถ้าฝนห่างฟ้าไปจะเกิดความแห้งแล้งขึ้น ดังนั้นเพื่อให้ฝนตกลงมาให้ความชุ่มชื้นแก่ไร่นา ชาวบ้านจึงร่วมกันทำพิธีกรรมตามความเชื่อที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ เพื่อให้ผีสางที่แฝงอยู่ในธรรมชาติช่วยดลบันดาลให้ฝนตกลงมาตามต้องการ ประกอบกับการแห่นางด้ง - นางควาย ยังมีเพลงประกอบอันเป็นเพลงพื้นบ้านที่ใช้สำหรับขอฝน
กำหนดงาน
ประมาณฤดูแล้ง หรือช่วงที่ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล สามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่ www.tat.or.th/festival
กิจกรรม / พิธี
ขั้นตอนและวิธีการแห่นางด้งนั้นมีรูปแบบลักษณะเป็นการเสี่ยงทายด้วย "ผีนางด้ง" ที่จะมาเข้าทรงกับผู้หญิงซึ่งเป็นร่างทรง โดยมีอุปกรณ์การเล่น คือ กระด้งฝัดข้าว 2 ใบ สากไม้ตำข้าว 2 อัน และอุปกรณ์ในการเชิญผีนางด้ง ได้แก่ หมากพลู ดอกไม้ ธูปเทียน น้ำ แป้งหอม ข้าวสุก พริก เกลือ
ส่วนวิธีการเล่นเริ่มด้วยการนำสาก 2 อัน วางกลับกันไว้ตรงกลางวงสมมุติให้เป็นเจ้าบ่าวของนางด้ง มีคนทรง 2 คน ซึ่งเป็นคนพิเศษที่เคยทำพิธีมาแล้ว หรือมีการถ่ายทอดการเป็นคนทรงเจ้า แล้วจากนั้นก็ยืนจับกระด้งไว้คนละใบ มีชาวบ้านหญิงชาย ยืนล้อมวงคนทรง แล้วมีคนทรงซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน ซึ่งเคยทำพิธีนี้มาก่อนแล้ว เป็นผู้มาทำพิธีเชิญและนำการร้องเพลงเชิญ (นำเชิด) ส่วนชาวบ้านที่ยืนล้อมวงจะช่วยกันร้อง เพื่อเชิญให้ผีนางด้งมาเข้าสิงที่กระด้ง ซึ่งคนทรงจะจับเอาไว้ เมื่อผีนางด้งมาเข้าสิงที่ร่างคนทรงก็จะจับกระด้งสั่น และพากระด้งร่อนไปเรื่อยๆ
จากนั้นชาวบ้านจะเสี่ยงทายหาของ (มักตักน้ำใส่ภาชนะไปซ่อนเอาไว้) เมื่อซ่อนเสร็จแล้วเกิดผีนางด้งหาเจอ แสดงว่าปีนั้นฟ้าฝนจะบริบูรณ์และตกต้องตามฤดูกาลดีหรือบางครั้งจะเสี่ยงทาย ในปีนี้ว่าฝนจะตกดีหรือไม่ถ้าหากฝนตกดีให้นางด้งฝัดข้าวแรงๆ หรือบางทีก็ให้นางด้งร้องรำทำเพลงให้ดู เพราะผีนางด้งจัดว่าเป็นผีที่รักสนุก และเมื่อเล่นกันจนพอใจแล้ว คนเชิญจะขอให้นางด้งหยุด แล้วจึงเข้าไปเป่าหูของนางทรง ผีนางด้งก็จะออกจากร่างทรงไป
สำหรับเพลงที่ใช้ร้องในพิธีแห่นางด้งนั้น ต้องร้องอัญเชิญเทวดาก่อนจึงจะเข้าเนื้อร้องได้สำหรับตัวอย่างของเพลงนางด้ง มีดังต่อไปนี้
เชิญเอยเชิญลง เชิญพระองค์เทวดา
องค์ไรศักดิ์สิทธิ์ ให้เนรมิตลงมา
เข้าตัวน้องข้า เจ้าคนทรงเอยฯ
นางด้งเอย เข้าป่าระหง
เข้าด้งไม้หมาก เข้าสากไม้แดง
ข้าวแดงแมงเม่า กระดังฝัดข้าว
พือๆ พายๆ ทำดิน ทำราย
มาให้ต้ำเต้า ขอเชิญพระเจ้า มาเข้านางด้งเอยฯ
ลงมาแล้วเว้ย ลงมาแล้ววา
ลงมาไม่ได้ ไต่ด้ายลงมา
ลงมาไม่รอด กอดไม้ลงมา
ลงมากินปลา ไอ้เข้ฟันดำ
ลงมาเล่นน้ำ พ่อเอ๋ยเชิญลงมา
ขอเชิญเทวดา องค์ไหนศักดิ์สิทธิ์
ให้เนรมิตลงมา เข้าตัวน้องข้า พระยาด้งเอยฯ
ส่วนการเล่นนางควายก็มีวิธีการเล่นเช่นเดียวกับนางด้ง มีลักษณะเป็นการเสี่ยงทาย โดยมีอุปกรณ์ที่ใช้เล่น ได้แก่ เขาควายเขางามๆ 2 หัว นำมามัดให้แน่นหนากับท่อนไม้ขนาดเท่าไม้พลอง แล้วสมมุติให้เป็นควาย 2 ตัว มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชิญ คือ ดอกไม้ ธูปเทียน หมากพลู น้ำ แป้งหอม
สำหรับวิธีการเล่น จะมีคนทรงสองคนจับปลายไม้ที่มีหัวควายผูกติดอยู่ตรงกลางวง มีชาวบ้านชายหญิง ยืนล้อมวง คนเชิญจะทำพิธีร้องเพลงเชิญผีนางควายให้มาเข้าสิงที่หัวควาย คนทรงที่จับไม้จะมีอาการเหมือนควายเปลี่ยว ส่วนคนเชิญก็จะร้องเสี่ยงทาย ว่าปีนี้ฝนจะตกดีไหม ถ้าหากว่าฝนจะตกดีในปีนี้ขอให้ควายชนกัน ยิ่งถ้าฝนตกหนักก็จะยิ่งชนกันแรงมาก เมื่อคนทรงเห็นว่าเล่นกันจนพอแล้วก็จะเชิญผีนางควายออกจากร่างโดยวิธีการ เป่าหูคนทรง ผีนางควายก็จะออกจากร่างทรงในที่สุด
สำหรับเพลงที่ใช้ร้องในพิธีแห่นางควายนั้น ใช้ทำนองเดียวกัน จะแตกต่างกันตรงเนื้อร้อง ส่วนวิธีการเล่นก็เหมือนกัน แตกต่างกันแต่อุปกรณ์ที่ใช้เล่นเท่านั้น เพลงที่ร้องก็เช่นกันต้องร้องอัญเชิญเทวดาก่อนจึงจะเข้าเนื้อร้องได้ ตัวอย่างของเพลงนางควายมีดังต่อไปนี้
นางควายเอ๋ย นางควาย หางดอก
ขยอกเป็นปั้น จับหางยักคิ้ว
จับงิ้วส่ายโยก น้ำท่วมโคก ไหลมา ซะๆ
กะตะเปลวปลา กระลังเคงๆ
เคงๆ เอ๋ยผ้าหัวควายเจ้า เข้าหัวควายเอง
ควายนักเลง มาหาเพื่อนเล่น
ควายเยาะควายเย้ย เสมอควายเอย
เชิญเอ๋ยเชิญลงมา เชิญพระองค์เทวดา
องค์ไหนศักดิ์สิทธิ์ ให้เนรมิตลงมา
จากตัวอย่างของเพลงประกอบพิธีแห่นางด้ง - นางควาย เป็นเพลงพื้นบ้านของคนไทยตามชนบทของชาวนครไทยที่หาชมได้ยากแล้ว ควรที่จะมีการอนุรักษ์ให้อยู่ตลอดไป รวมทั้งการแห่นางด้ง - นางควายด้วยเช่นกัน
พิษณุโลก : สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ
อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง
แหล่งผืนป่าซาวันนาแห่งเดียวของภาคเหนือที่แอบแฝงเสน่ห์แห่งป่า ที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ ความแตกต่างแห่งพืชพรรณที่ไม่พบเห็นบ่อยนักในป่าเมืองเหนือ นอกจากนี้ยังเป็ฯถิ่นอาศัยของสัตว์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และความหลากหลายทางชีวภาพมีพื้นที่ 789,000 ไร่ ในท้องที่จังหวัดพิษณุโลกและเพชรบูรณ์ ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2518 สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อน เป็นต้นน้ำลำธารหลายสายที่ไหลลงสู่แม่น้ำน่าน ที่ทำการอุทยานฯ ตั้งอยู่ที่ กม. 80 เส้นทางสายพิษณุโลก - หล่มสัก นักท่องเที่ยวสามารถขอข้อมูลเดินทางศึกษาธรรมชาติ รวมทั้งใช้บริการที่พักและกางเต็นท์พักแรมได้ แหล่งท่องเที่ยวในเขตอุทยานฯ ได้แก่ น้ำตกต่างๆ บนเส้นทางสายพิษณุโลก - หล่มสัก เช่นน้ำตกแก่งโสภา น้ำตกวังนกแอ่น ส่วนพื้นที่ทางด้านตะวันออกและตอนกลางของอุทยานฯ ในเขต อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ เป็นบริเวณป่าสนและทุ่งหญ้าสะวันนา ได้แก่ ทุ่งแสลงหลวง ทุ่งพญา ทุ่งโนนสน ซึ่งนักท่องเที่ยวนิยมไปเดินป่าและกางเต็นท์พักแรม สามารถติดต่อได้ที่หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ สล.8 (หน่วยฯ หนองแม่นา)
ค่าธรรมเนียมเข้าชมอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง คนไทย ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 20 บาท ชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 400 บาท เด็ก 200 บาท
การเดินทางไปหน่วยฯ หนองแม่นา
รถส่วนบุคคล: จากบ้านแค้มป์สนกิโลเมตรที่ 100 เส้นทางพิษณุโลก-หล่มสัก แยกไปตามทาง 2196 ทางไปเขาค้อ จนถึงตลาดพัฒนา เลี้ยวขวาเข้าทาง 2325 จนถึงบ้านทานตะวัน มีทางไปหน่วยจัดการอุทยานฯ (หนองแม่นา) อีก 3 กิโลเมตร รวมระยะทางจากบ้านแค้มป์สน 35 กิโลเมตร
รถโดยสาร: จากสถานีขนส่งพิษณุโลกโดยสารรถประจำทางสายพิษณุโลก-หล่มสัก ลงรถที่บ้านแค้มป์สน กิโลเมตรที่ 100 จากนั้นจ้างเหมารถสองแถวที่ปากทางแค้มป์สนไปยังหน่วยฯ หนองแม่นา หรือเช่ารถสองแถวจากบริษัทรถเช่าในพิษณุโลกไปยังหน่วยฯ หนองแม่นาเลยก็ได้ สอบถามรายละเอียดได้ที่ทำการอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง โทร. 0 5526 8019
ที่พักและสิ่งอำนวยความสะดวก อุทยานมีบริการบ้านพัก รายละเอียดติดต่อ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โทร. 0 2562 0760
หรือสำรองที่พักด้วยตนเองที่ http://www.dnp.go.th
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาท่าพล
ครอบ คลุมเนื้อที่ 1,775 ไร่ ในท้องที่อำเภอเนินมะปราง ห่างจากตัวเมืองพิษณุโลก 85 กิโลเมตร การเดินทางเริ่มจากตัวเมืองพิษณุโลกไปตามทางหลวงหมายเลข 12 ถึงอำเภอวังทองระยะทาง 20 กิโลเมตร แยกขวาไปยังอำเภอสากเหล็กอีก 38 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงหมายเลข 11 แล้วแยกซ้ายเข้าทางหลวง 1115 อีก 17 กิโลเมตร ถึงโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา (ก่อนถึงตัวอำเภอ 2 กิโลเมตร) มีแยกขวาไปถ้ำผาท่าพลอีก 10 กิโลเมตร เส้นทางบางช่วงเป็นทางลูกรัง ในฤดูฝนควรใช้รถขับเคลื่อนสี่ล้อ
พื้นที่บริเวณนี้เป็นภูเขาหินปูน ยอดสูงสุด 236 เมตร มีหน้าผาสูงชันเว้าแหว่ง อันเกิดจากการกัดเซาะของน้ำฝนนับหลายล้านปี เกิดเป็นถ้ำต่าง ๆ มากมายทั่วบริเวณ ได้แก่ ถ้ำนเรศวร ถ้ำเรือ ที่มีหินงอกหินย้อยสวยงาม ถ้ำลอด ซึ่งสามารถเดินทะลุไปยังอีกด้านหนึ่งของภูเขาได้
นอกจากนี้ยังพบซากดึกดำบรรพ์ของหอยและปะการัง เนื่องจากบริเวณนี้เคยเป็นท้องทะเลมาก่อน และยังมีภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์รูปมือคนบนเพิงผาหิน และอักษรญี่ปุ่นโบราณสลักบนก้อนหิน พรรณไม้และร่องรอยสัตว์ป่าต่าง ๆ ที่มักพบระหว่างทางเดินเท้าศึกษาธรรมชาติ เหมาะแก่การทัศนศึกษาเชิงนิเวศ
นักท่องเที่ยวสามารถติดต่อขอข้อมูลได้เจ้าหน้าที่เมื่อเดินทางมาถึงยังสำนัก งานเขต การเที่ยวชมถ้ำต่าง ๆ ต้องนำไฟฉายติดตัวมาด้วย ในช่วงฤดูฝนถ้ำบางแห่งไม่สามารถเข้าชมได้เนื่องจากมีน้ำท่วมพื้นถ้ำ หากต้องการพักค้างแรมหรือทัศนศึกษาเป็นหมู่คณะติดต่อล่วงหน้าได้ที่ สำนักงานเขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาท่าพล หมู่ 6 ต.บ้านมุง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก 65190
โทร. 08 1604 0843, 08 9964 2249
การเดินทาง เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาท่าพลห่างจากตัวเมืองพิษณุโลก 85 กิโลเมตร การเดินทางเริ่มจากตัวเมืองพิษณุโลกไปตามทางหลวงหมายเลข 12 ถึงอำเภอวังทองระยะทาง 20 กิโลเมตร แยกขวาไปยังอำเภอสากเหล็กอีก 38 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 11 แล้วแยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1115 อีก 17 กิโลเมตร ถึงโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา (ก่อนถึงตัวอำเภอ 2 กิโลเมตร) มีแยกขวาไปถ้ำผาท่าพลอีก 10 กิโลเมตร บางช่วงเป็นทางลูกรัง
น้ำตกปอย
ระหว่าง กม. ที่ 59 - 60 ทางหลวงหมายเลข 12 มีทางแยกไปน้ำตกปอยอีก 2 กิโลเมตร บริเวณสวนป่ากระยาง ในความดูแลขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ เป็นน้ำตกที่มีทัศนียภาพสวยงาม สภาพโดยรอบร่มรื่นเหมาะเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และในบริเวณสวนป่ายังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติสำหรับผู้ที่สนใจ และมีบริการบ้านพักสำหรับประชาชนทั่วไป (ดูรายละเอียดในสถานที่พัก)
น้ำตกแก่งโสภา
เส้น ทางพิษณุโลก - หล่มสัก อยู่บริเวณกม.ที่ 71 - 72 มีทางแยกเข้าไป 2 กิโลเมตร เป็นน้ำตกขนาดใหญ่ ในลำน้ำเข็ก มีความสูงราว 40 เมตร สภาพโดยรอบร่มรื่น ตอนบนเป็นแผ่นหินเรียบ ส่วนตอนล่างเป็นโขดหินใหญ่ ในช่วงฤดูน้ำหลากสายน้ำจะไหลเชี่ยวกราก ส่วนในช่วงที่น้ำน้อยจะแลเห็นน้ำตกไหลลดหลั่นเป็นชั้นต่างๆ 3 ชั้น ค่าธรรมเนียมเข้าชมสำหรับชาวไทยคนละ 20 บาท ชาวต่างชาติคนละ 200 บาท เด็กไม่เสียค่าธรรมเนียม เปิดเวลา 08.00-17.00 น.
เส้น ทางพิษณุโลก - หล่มสัก อยู่บริเวณกม.ที่ 71 - 72 มีทางแยกเข้าไป 2 กิโลเมตร เป็นน้ำตกขนาดใหญ่ ในลำน้ำเข็ก มีความสูงราว 40 เมตร สภาพโดยรอบร่มรื่น ตอนบนเป็นแผ่นหินเรียบ ส่วนตอนล่างเป็นโขดหินใหญ่ ในช่วงฤดูน้ำหลากสายน้ำจะไหลเชี่ยวกราก ส่วนในช่วงที่น้ำน้อยจะแลเห็นน้ำตกไหลลดหลั่นเป็นชั้นต่างๆ 3 ชั้น ค่าธรรมเนียมเข้าชมสำหรับชาวไทยคนละ 20 บาท ชาวต่างชาติคนละ 200 บาท เด็กไม่เสียค่าธรรมเนียม เปิดเวลา 08.00-17.00 น.
วัดราชคีรีหิรัญยาราม
ตั้งอยู่ที่บ้านสมอแคลง ในเขตอำเภอวังทอง เดินทางจากตัวเมืองพิษณุโลกไปตามทางหมายเลข 12 (เส้นทางสายพิษณุโลก-หล่มสัก) ประมาณ 14 กิโลเมตร (ก่อนถึงอำเภอวังทอง 3 กิโลเมตร) มีทางแยกซ้ายไปอีก 500 เมตร บนเขาสมอแคลงมีสระน้ำเรียกว่า สระสองพี่น้อง มีน้ำตลอดปี คนโบราณจึงได้สร้างวัดไว้ถึง 7 วัด แต่บัดนี้ร้างไปหมดแล้ว สำหรับวัดราชคีรีหิรัญยารามหรือวัดพระพุทธบาทเขาสมอแคลงนี้ เดิมเป็นวัดร้าง และมีพระสงฆ์มาจำพรรษาเพื่อ พ.ศ. 2496 ในบริเวณวัดมีรอยพระพุทธบาทจำลอง และบนเขาซึ่งอยู่ด้านตะวันตกของวัดมีรอยพระบาทตะแคงอยู่กับหน้าผา มีงานนมัสการพระพุทธบาทในกลางเดือน 3 เป็นประจำทุกปี
เมื่อประมาณต้นปี พ.ศ. 2535 ได้มีการอัญเชิญพระโพธิสัตว์กวนอิม ซึ่งแกะสลักจากหินทะเลสาบหยกขาวจากเมืองหางโจว ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นปางพิเศษที่ได้รับอนุมัติให้สร้างโดยรัฐบาลจีนโดยใช้ต้นแบบจากวัดเจ้า แม่กวนอิมเมืองหางโจว มีขนาดสูง 3 เมตร หนัก 3 ตัน มาประดิษฐาน ณ วัดแห่งนี้
ถัดจากวัดเจ้าแม่กวนอิมขึ้นไปบนเขาจะมีทางแยกไปศาลเจ้าเห้งเจีย ซึ่งชาวไทยเชื้อสายจีนไปไหว้เจ้าทำบุญกันเป็นประจำ และถัดจากศาลเจ้า |