www.AvisThailand.com
Tel. 662-2511131-2
662-2555300-4
668-1-3785697
Home Get a Quote Know Us Better Contact Us Partner& link
Latest Offers Book Your Car Car & Renting Guide Avis Services Car Leasing Chauffeur Drive Travel Agent Avis used Car
Bangkok Cha am Hua hin Chiang mai Chiang rai Hat yai Khon kaen Krabi Nakhon Si Thammarat
Pattaya Phitsanulok Phuket Samui Suratthani Trang Udon Thani Ubon Ratchathani    

NARATHIWAT

NARATHIWAT : General Information

            Located approximately some 1,149 kilometers south of Bangkok is Narathiwat the southernmost province in Thailand and one of the nation's five provinces that borders Malaysia at Amphoe Su-ngai Kolok, where the southern railway line ends.


    Access from Malaysia is convenient via a ninety-minute bus trip and two immigration points where travelers can cross into Thailand and vice versa. With Amphoe Su-ngai Kolok serving as an economic and border tourism center, the province welcomes an increasing numbers of Malaysians and Singaporeans on short holidays or shopping sprees.

Geographically, Narathiwat is situated on the eastern coast of the Malay Peninsula. The north borders Pattani Province and the Gulf of Thailand, the west borders Yala Province, the east borders the Gulf of Thailand, and the south borders Kelantan in Malaysia. The plains where the Maenam Sai Buri, Maenam Bang Nara, Maenam Tak Bai and Maenam Su-ngai Kolok converge are adjacent to the gulf.

With an area of 4,475 square kilometers, of which 75 percent are jungles and mountains, visitors to the province are provided with great opportunities to spend days at the beach or in the forests and take excursion trips to some of the magnificent temples. Narathiwat has a tropical climate and has only 2 seasons; summer and rainy. The wettest period is during November to December.
Narathiwat literally means "the residence of good people". The city of Narathiwat has an abundance of traditional culture and authenticity with village-like tranquility. The inhabitants of Narathiwat are largely farmers and fishermen with the majority being Muslims who use the spoken and written Yawi language (Yawi has roots from the spoken Malay language and uses Arabic consonants and alphabets). As such, Narathiwat is an amazing and unique area with a constant flow of culture and trade between Thais and Malaysians.

Provincial Seal

The provincial seal depicts a sailing boat with a picture of a white elephant on the sail in a circle. It signifies that Narathiwat is a province on the coast, engaged in fishing and trading with neighboring countries and that the province has a white elephant called Phra Sri Nararat Rajakarin.

History of Narathiwat

In the past, Narathiwat was a southern borderland named "Ban Bang Nara" or "Manalo". It was located near Maenam Bang Nara and the sea. In the reign of King Rama I, this village was under the administration of Sai Buri. Later, it came under the administration of Ra Ngae town of Pattani province.

In 1906, Bang Nara became a big trading city with well-developed sea and land transportation. King Rama V moved the administration office from Ra Ngae to Manalo. In 1915, King Rama VI changed the name of the town to "Narathiwat".

Todays Narathiwat

Narathiwat is currently divided into 12 districts, namely Mueang, Ra-ngae, Su-ngai Padi, Sungai Kolok, Ruso, Yi-ngo, Waeng, Bacho, Tak Bai, Si Sakhon, Sukhirin, Chanae and one Sub District of Cho Ai Rong.

Distances from Amphoe Mueang (Town) to Neighbouring Districts:

Chanae 47 kms.
Cho Ai Rong 31 kms.
Tak Bai 33 kms.
Bacho 28 kms.
Yi-ngo 18 kms.
Ra-ngae 24 kms.
Ruso 48 kms.
Waeng 83 kms.
Sukhirin 112 kms.
Su-ngai Kolok 63 kms.
Su-ngai Padi 49 kms.

NARATHIWAT : How to get there

By Car

From Bangkok: Take Highway No. 4 passing Prachuap Khiri Khan and Chumphon Provinces and Highway No. 41, passing Surat Thani, Nakhon Si Thammarat, Phatthalung and Hat Yai Provinces and connect to Highway No. 42 for Pattani and Narathiwat Provinces. Total distance is 1,149 kilometers.
 
By Bus

The Transport Co., Ltd. operates daily bus services between Bangkok-Narathiwat and Bangkok-Su-ngai Kolok.

For more information, call tel. 0 2435 1199-200; Narathiwat Bus Terminal tel. 0 7351 1845 and Su-ngai Kolok Bus Terminal tel. 0 7361 2045 or visit www.transport.co.th

From Narathiwat: Buses to Bangkok leave from 2 separate small terminals on Suriyapradit Road, close to the police stations. They depart 4 times a day. Buses to Phuket Province via Pattani, Hat Yai, Songkhla, Trang, Krabi and Phang-nga Provinces leave 3 times a day.

There are also minivans that connect Narathiwat and Hat Yai Province for 120 bahts, Pattani Province for 60 bahts, Su-ngai Kolok District for 50 bahts, and Yala Province for 60 bahts. They leave from different stops around the city.


By Train

The State Railway of Thailand has a daily express and rapid Bangkok-Tanyongmat (Narathiwat)-Su-ngai Kolok service, departing from the Hua Lamphong Railway Station at 0.25 p.m. and 2.45 p.m. For more information, call tel. 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020; Su-ngai Kolok station tel. 0 7361 1162, 0 7361 4060 or visit www.srt.motc.go.th The train station is located approximately 20 kilometers west of town, which is accessible via Songthaew that costs 20 bahts.


By Air

Thai Airways International has 2 weekly flights connecting Phuket with Narathiwat. For more information, contact their Bangkok office at tel. 0-2280-0060, 0-2628-2000; Narathiwat office, tel. 0 7351 1161, 0 7351 3090, or visit their website at www.thaiairways.com

Getting around Narathiwat

Walking around the town is highly recommended as the city can easily be explored on foot. For those who do not want to walk, the motorcycle taxi is a good alternative with the rate ranging between 10 and 20 bahts/trip, depending on the distance.

Car rental service is also available and is provided by some guesthouses.

NARATHIWAT : Activities

Namtok Sirindhorn

The waterfall is actually a stream that comes down from a forest at a higher altitude. The falls feature a wide rock plateau which is suitable for relaxation. Another attraction is the Southern Forest Flowers and Decorative Plants Survey and Collection Project under the Patronage of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn. The project has more than 200 plant species that are grouped according to their natural habitat. Signs provide plant names and useful information. Plants here are both interesting in terms of local botany and breeding to be developed as decorative and economic plants. The project is open from 8.30 a.m. to 4.00 p.m. The waterfall is located approximately 7 kilometers from Amphoe Waeng on Highway No. 4057. Turn left onto Phua Khwam Man Khong Road and proceed for around 8 kilometers, then drive another 300 meters to the waterfall.


Hala-Bala Wildlife Reserve

A not-to-be-missed attraction for nature lovers, Hala-Bala is one of Thailands more recent conservation areas. Officially established in 1996, the reserve is located near the Thai-Malaysian border. Covering an area of approximately 433.16 square kilometers, it extends over Sankala Khiri Mountain Range and the deep forests of Hala and Bala Forests that are not connected to each other. Although they are a part of the same reserve, Hala Forest is in Amphoe Betong in Yala Province and Amphoe Chanae in Narathiwat Province while Bala Forest, the only part that is open to the public, spans Amphoe Waeng and Amphoe Su Khirin in Narathiwat.

Highway No. 4062 (Khwam Man Khong Road) goes through Sankala Khiri Mountain Range, making access to the reserve easier. Visitors can start at Ban Buketa in Amphoe Waeng, go through Bala Forest and end up at Ban Phu Khao Thong in Amphoe Su Khirin for a total distance of 18 kilometers. On both sides of the road are the most verdant jungles in Thailand. To study nature, you only have to drive through the area and you will likely see many extraordinary things from the park office on.

For nature enthusiasts, simply driving through the area from the Park Office onwards will provide extraordinary views of nature. Approximately 5 kilometers from the office, is a wildlife lookout point. The numerous Banyan trees flourishing in the area yield plenty of fruit for animals that regularly come to feed there. About 10 kilometers further is the Phu Khao Thong Protection Unit, a sub-office of the reserve. From here it is possible to see a sea of mist at dawn. Walking about 100 meters from the unit, visitors will find a gigantic Somphong (Kraphong) tree that has a diameter of 25 meters. The height of a section near the ground that supports the trunk is about 4 meters. This tree likes to grow near water and is a softwood tree used in making toothpicks or matches.

Along the route are several plants that are rarely found elsewhere in Thailand such as the Yuan tree of the bean family. This tree is regarded as the third tallest tree in the world, after the redwood and eucalyptus, respectively. It has a white trunk and can reach a height of 65 to70 meters. Normally, the tree is perfect for making furniture. Another tree located here is the Saya tree of the rubber family, which is the most striking tree of the Hala-Bala forest. Looking carefully, visitors will see hornbills as the forest are their preferred nesting sites. In addition, it is possible to see the Hua Roi Ru Nam tree, which is one of the newest plants found in the country.

Wildlife here creates an ecological balance for the area. Many of the animals are on the list of nearly-extinct animals of Thailand. They include the large black gibbon, or Sia Mang, that is totally black in color and nearly double the size of the white-handed gibbon. There is also the agile gibbon that is usually found on Sumatra, Borneo and northern Malaysian jungles and southern Thailand. With luck, visitors may be able to see two of these creatures hanging from a branch. The area also has Thut frogs that are the largest frogs in the country. It is about a foot long and weighs over 5 kilograms. The frogs live in watershed forests on high mountains. A survey discovered that four types of protected mammals, which are the Sumatran serow, tapir, marbled cat, and Asian two-horned rhinoceros, inhabit the area.

The hornbill, a rare bird, is an indicator of the state of the forest. Nonetheless, the reserve has 9 out of 12 species of hornbills in Thailand. These include the wrinkled hornbill, helmeted hornbill (the only kind of hornbill that has a thick upper beak and Indonesian villagers hunt it to get the beak to carve into ornaments like ivory), Oriental pied hornbill, great pied hornbill, white-crowned hornbill, bushy-crested hornbill, Malayan rhinoceros hornbill, black hornbill, and wreathed hornbill.

Visitors wishing to enter the area for nature study must write in advance to the reserve at P.O. Box 3, Amphoe Waeng, Narathiwat 96120 or the Wildlife Reserve Department of the Natural Resources Conservation Office, Royal Forest Department, Bangkok. As the reserve is a sensitive area, visitors are not permitted to stay overnight. The best time to study nature here is from late February to September, when there is little rain.

Getting there: Mini-buses can be hired from Amphoe Waeng Market or from Su-ngai Kolok train station.


Wat Chon Thara Singhe

This temple is at Mu 3, Tambon Chehe, on the bank of Tak Bai River. From the town, take Highway No. 4985 (Narathiwat-Tak Bai) until the Tak Bai District Market intersection, turn left and proceed for another 100 meters to the temple entrance.

In 1873, Phra Khru Ophat Phutthakhun established the temple and requested land from Phraya Kelantan for its construction. At that time, Tak Bai was still a part of Kelantan in Malaysia. This Buddhist temple, which played an important role in the secession of land between Siam and Malaya (then a colony of the United Kingdom) during the reign of King Rama V in 1909, is located in a predominantly Muslim community. The Thai side raised the fact that since this is a Buddhist temple, it should remain with Thailand. The British relented and agreed to use the Klok River (Tak Bai River) that flows through Tak Bai as the boundary. Therefore, the temple is also called Wat Phithak Phaen Din Thai or the temple that protects Thai sovereignty.

The temple is generally peaceful and has a spacious lawn on the riverbank that is ideal for relaxation. The chapel, built in the reign of King Rama V, has murals drawn by monks from Songkhla. The paintings depict the life of the Lord Buddha and the daily life of locals at that time. It also houses a main Buddha image made of gold, which covers its original features of a red mouth and black hair and situated on a 1.5-meter high base. From the style of the base, it is believed that this is a Mon image. Another building housing a reclining Buddha image has inner walls covered with old Sangkhalok porcelain.

To get there, take a bus to Tak Bai district. Other transportation options are mini-buses (20 baht), vans (30 baht and board at the roundabout in town) and buses. If traveling by bus, get off at Tak Bai intersection and walk for around 500 meters. Vans will take you right into the temple.

Ko Yao

The island is located close to Wat Chon Thara Singhe. From Tak Bai District Market intersection, there is a 345-meter long wooden bridge spanning Tak Bai River to Ko Yao. The islands attraction is its eastern seaside section with a white sandy beach and cozy ambience. In addition, most of the inhabitants are Muslim fishermen who dwell in simple homes in coconut plantations.


Chat Warin Waterfall

Chat Warin Waterfall is at Tambon To Teng, not too far from town. Take Highway No. 4056 to Su-ngai Padi Hospital, then turn left for 6 kms. The entrance is a good asphalt road in Budo-Su-ngai Padi National Park. This is a medium-sized waterfall that has a year-round water supply and is shady by the many trees in the area.

The most striking plant here is the rare Bangsun Palm that is found in the jungle around 1,800 metres above sea level. Originating from Malaysia, the plant is a low tree with many branches that can get as high as 3 metres. It has neatly arranged large, diamond-shaped leaves. The palm is regarded by many as the most beautiful palm in the world and is found only in this forest. The name Bangsun Palm was given by Professor Prachit Wamanon, advisor of the royal projects, when he inspected the area and found the palm had grown in a Muslim village. The professor saw that the palm leaf was similar to a Bangsun, a large umbrella used in processions. The locals call the palm Buke Ipae, meaning mountain centipede, probably because the flower is shaped like a centipede.

Sirindhorn Peat Swamp Forest Nature Research and Study Center (To Daeng Peat Swamp Forest Pa Pru To Daeng)

This last remaining peat swamp forest in Thailand spreads over 3 districts including Tak Bai, Su-ngai Kolok and Su-ngai Padi. Covering an area of 192 square kilometers, of which 80 square kilometers are dense forests, the swamp is rich in fauna and flora. Major waterways that pass through the area are Khlong Su-ngai Padi, Bang Nara River and Khlong To Daeng, from which the forest derives its name.

Publicized nature study treks are provided to transfer knowledge on peat swamp forests to visitors. The 1,200-meter trail starts from a swamp behind the research center with one segment of the trail consisting of a wooden bridge suspended by metal slings and another consisting of a high tower for viewing the lush scenery below. Informative signs provide interesting facts about trees and provide guidance for new trekkers. The trail is open daily from 8 a.m. to 4 p.m. with no admission fee. An exhibition room is also provided to give nature enthusiasts additional information.

A peat swamp forest originates from fresh water that is confined in limited space for a long period of time and subsequently leads to an accumulation of organic matter in the soil, like dead plants, trees and leaves. These progresses are slowly transformed into peat or organic soil that is soft like sponge with low density and absorbs water very well. In this area, peat has accumulated together with marine sediment to create 2-3 interlocking layers of both types of soil. Because the sea level was high enough to cover the forest accumulation of sediment ensued and seawater was contained in the area. This resulted in the demise of plants in the forest and created a mangrove forest in its place. When the water level receded and rain came, the water was transformed into fresh water and the peat swamp forest emerged. The deeper soil layers date from 6,000-7,000 years, while the top layers is from 700-1,000 years.

The forest has a diverse ecological system with every life being interconnected. Trees have strong roots that spread out to those of other trees and help them in supporting their large trunks. Therefore, trees in the peat swamp forest will grow together in a group. If one falls, so will the others.

There are over 400 species of plants in the peat swamp forest. The most outstanding are strange palms like Lum Phi whose fruits can be eaten and red palm whose entire trunk is red in color. Red palm is popular as a garden plant. Moreover, there are aromatic flowers like the Goniothalamus giganteus, a plant of the Annonaceae family that has large flowers. In addition, with careful scrutiny, visitors may be able to spot orchids and an assortment of small plants.

There are over 200 animal species in the forest. Small creatures include langurs, civets, wild cats, Singapore rats, and Malayan tree frogs while large animals include wild boars and binturongs. A variety of fish also makes it home in the forest, including a certain species of catfish that can be raised in acidic water and the strange angler catfish that has a flat, wide head and a long body. This catfish has a poisonous spine in its dorsal fin. The fish uses the forest as a refuge and to spawn. Villagers catch this fish for food when it is fully grown.

Birds here include the Rufous-tailed Shama that is mainly found in Sumatra, Borneo and Malaysia and was first discovered in Thailand in 1987. The Malaysian Verditer Flycatcher is found only in Sirindhorn Peat Swamp Forest in Thailand. Both species are now endangered.

The forest is interesting not only because of its unusual flora and fauna, but also because of the overall unique experience that people, particularly children, are bound to receive when they visit. The surrounding nature offers a constant stream of surprises. While trekking amidst a serene forest, visitors may encounter an animal grazing. Trails take you close to, but not overly interfering with, nature.

Note: Visitors to the forest are recommended to bring notebooks, colored pencils, binoculars, cameras, and mosquito repellent. With these items in hand, it is possible to spend a whole day of fun here as the cool climate of the forest is conducive for explorations. The best time to go is during February-April because there is little rain. The other months will see frequent rainfall because the forest is situated on a peninsula.

Tourists should be aware of the disease-carrying black mosquitoes, which are prevalent in the area and come out in the evening. Forest fire can happen as a result of smoking and discarding cigarette butts on the ground. When there is a forest fire in this forest, it is more difficult to put out because there is ample fuel in the form of trees, dead barks and organic matters in the ground. The fire will actually spread underground, making it extremely difficult to extinguish and control and can last for months. The only way to put it out is to wait for heavy rainfall where the subsequent inundation should extinguish the fire.

Getting there: It is more convenient to get there by train from Bangkok as the last station is at Su-ngai Kolok. If not, bring a car which can also be chartered from Su-ngai Kolok.

If driving, take Highway No. 4057 (Tak Bai-Su-ngai Kolok) for about 5 kilometers, then switch to the branch road and proceed for 3 kilometers to Chawananan Road. After that, turn left and proceed for 2 kilometers where directional signs that lead visitors all the way to the forest are posted. For more information, contact P.O. Box 37, Su-ngai Kolok, Narathiwat 96120.


Chao Mae Tomo Shrine

The shrine is located in Soi Phuthon, Charoen Khet Road. Originally housed at Ban Tomo in Amphoe Su Khirin, villagers transferred Chao Mae Tomo to Su-ngai Kolok District. The goddess is highly revered by the local residents and residents of nearby provinces, as well as Chinese Malaysians. Every year, a festival is held at the shrine on the 23rd day of the third month of the Chinese calendar (around April). Activities undertaken include a procession, lion parade, a fancy acrobatic stilts procession, a long drum procession, and walking over hot coal.

Thaksin Ratchaniwet Palace

This Palace is on Tanyongmat Mountain, Tambon Kaluwo Nua, on the coast near Manao Bay. It is 8 kilometers from town on Highway No. 4084 (Narathiwat-Tak Bai). Situated on an area of 480,000 square meters at the summit of the Tan Yong Mut Mountain, His Majesty King Bhumibol Adulyadej commissioned its construction in 1973 as his royal summer residence. The compound is comprised of throne halls decorated with an assortment of trees which provide a good shade for the whole area. A craft center providing training on pottery and ceramics, as well as selling products is also located nearby. When the royal family is not in residence, the grounds are open daily for public viewing between 8.30 a.m. and 4.30 p.m. The Royal Family normally resides here between October and December. The garden provides a great view of the adjacent beach and contains an aviary. To visit the Palace, take a bus that goes to Amphoe Tak Bai and get off in front of the palace.

Phikun Thong Development Study Center

The center was established according to an initiative of His Majesty the King who saw the necessity for a knowledge center for land reform in the area. The center has a complete range of activities such as analyzing and testing plants, livestock care, providing technical know-how and providing agricultural training. Occupying an area of 2,784,000 square meters, the center is divided into office buildings, demonstration plots and testing plots in swamp forest areas.

Royal projects include a soil project that adds maximum acidity to paddy soil, then attempts to find a solution so it can be used to counter acidic soil nationwide. Other projects include a new concept in agriculture that is used in areas with an abundant supply of water and planting of oil palm in highly organic soil. A small, fully integrated factory and Prince of Songkhla University jointly produce products from palm oil, like oil extracts, soap and butter that are sold to workers and outsiders. A livestock factory produces animal waste gas wells. There is also a project that plants Zalacca palm to supplement rubber plantations.

Furthermore, on weekdays the center operates a training center on making products from Krachut sedge and Annonaceae leaves.

People who come here to study also receive considerable enjoyment. This is in accordance with His Majesty the Kings intention that an observation tour should be similar to a picnic in a park. Every September, the center holds an exhibition that coincides with the Narathiwat Products Fair.

The center is located between Ban Phikun Thong and Ban Khok Saya in Tambon Kaluwo Nuea, about 1 kilometer from the Thaksin Ratchaniwet Palace and 8 kilometers from Narathiwat town on Highway No. 4084 (Narathiwat-Tak Bai).

New Central Mosque

The mosque is located at Ban Bang Nara, just before Narathat Beach. This mosque, which is the provinces second central mosque built in 1981, is a religious site highly revered by Thai Muslims. This 3-story Arabian-style building with a large dome on top has the main convention hall on the ground floor and the prayer rooms on the top 2 floors. In addition, there is a high tower that is used to call Muslims to prayer.

Khao Kong Buddhist Park

The Park occupies an area of 142 rais (56.8 acres) in Tambon Lamphu, about 9 kilometers from town on the Narathiwat-Rangae route (Highway No. 4055). The main attraction in Wat Khao Kong is a graceful southern Buddha image, the golden Phra Phuttha Thaksin Ming Mongkhon, which is seated in the lotus position. The construction of the steel-reinforced concrete image that was decorated with gold mosaics started in 1966 and was completed in 1969. This mountaintop Buddha image, which is considered to be the most beautiful and largest (17 meters wide and 24 meters high) outdoor Buddha image in southern Thailand, is decorated in the South Indian style.

Hat Narathat

This white-powdered sandy beach stretching for 5 kilometers is located near the estuary of the Bang Nara River, where the annual Korlae boat races are held. The beach is naturally decorated with dense pine trees, which provide a tranquil shady area suitable for pitching tents. Several beachside restaurants serving southern-style cuisine and accommodation facilities are provided. The view from the beach is impressive, as there is a backdrop of fishing villages extending along the river and the bay is full of Korlae fishing boats.

Narathat Beach is located just 1 kilometer from town on Phichit Bamrung Road. Visitors can conveniently hire motorcycles, tricycles or mini-buses from town to the beach.

Ban Yakang

This is not an ordinary village, but is an old community established when the province was known as Bang Nara village. At present, the village is a major Batik production center with distinctive, traditionally made fabrics that have beautiful designs and fascinating colors. They are multi-purpose fabrics that are very popular among both local residents and tourists.

The village is located some 4 kilometers from the Provincial Hall on Highway No. 4055 (Amphoe Muang-Amphoe Rangae). Turn onto Soi 6 of Yakang 1 Road and proceed for about 700 meters.

Ban Thon

A traditional Thai Muslim fishing village, Ban Thon is located approximately 16 kilometers from the city. The village is a well-known center for production of real and miniature Korlae boats, which is considered to be an exquisite form of local art. Boys over 13 years old traditionally make the miniature boats, costing from a few hundred baht to 2,000 baht. Moreover, some children spend their free time making these miniature boats.

In addition, products made of Krachut sedge and Annonaceae leaves are also sold here. A few popular products are colorful and exquisitely designed eyeglass holders, bags and mats. They are value-for-money souvenirs ranging in price from 30 baht to a few hundred baht.

Other renowned village products are the sumptuous Budu sauce and fish crackers. Along the beach visitors will see lines of dried fish and many Budu sauce vats. The sauce is used extensively in southern cooking, similar to the use of fish sauce in Thai cooking. It is possible to see how the sauce is made and purchase some as souvenirs daily.

Visitors please note that on Fridays, villagers go to prayers and take the day off. Therefore, it may not be convenient to buy things on Friday.

The village is located at Tambon Khok Tian, around 16 kilometers from the town on Highway No. 4136 (Narathiwat-Ban Thon).

Ao Manao Forest Park

Located at Mu 1, Tambon Kaluwo Nua, the 4-kilometer beach connects with the eastern coast of Pattani Province. Divided into several segments by its rocky terrain, Hat Ao Manao borders on Thaksin Ratchaniwet Palace to the south. The beach is an ideal place for relaxation with its arboretum and row of pines. In addition, there is a beach forest study trail for nature enthusiasts. Native plants such as Chak Thale, Manao Phi and Toei Thale (appearance similar to a pineapple) can be found in the area. Private accommodations nearby are available for overnight stays. The beach is situated approximately 3 kilometers from town along the Narathiwat - Tak Bai route (Highway No. 4084).

Taloh-manoh Mosque (Wadil-husen Mosque or the 200-year Mosque)

Situated in Bacho District, the mosque is usually dubbed the 200-year mosque or 300-year mosque by the locals. It is believed that Haji Saihu, a religious teacher ordered a builder named Sae-ma to build the mosque in 1769.

Instead of using nails and screws, the whole mosque was traditionally built using old building tools such as Malarbar ironwood (a local timber known as Mai Takien) and wooden bolts and pins. The 26 wooden poles are 10x10 inches, the floor is two inches thick and window shutters are of solid wood boards. The mosque itself consists of two adjacent buildings built in a mixture of local Thai, Chinese, and Malay architectural styles. The most prominent feature is the buildings three-tiered roof where the Imam prays. The top tier features a dome constructed in the Chinese pavilion style. In the past, it functioned as the minaret or tower where people were called from at prayer times. Visitors can see the building from the surrounding area, however, those wishing to see the interior are are required to receive permission from the village Imam.

Next to the mosque is a Muslim graveyard. Rocks decorating the grave of deceased males will be round, while those for females would be half buried, with only half of the rock visible above ground.

The mosque is located in Ban Talo Mano, Tambon Subo Sawo, 25 kilometers from Narathiwat town. Take Highway No. 42 and make a turn at Burangae intersection.

The park is part of the Sankala Khiri Mountain Range that serves as a natural border between Thailand and Malaysia. The area was once mostly inhabited by guerrillas, therefore, few people could get in to admire the natural beauty of the virgin jungle. It was only with the establishment of the Pacho Waterfall Park (later known as Budo-Su-ngai Padi National Park) in 1974 by the Royal Forest Department that the situation had changed. The park occupies an area of 294 square kilometers and extends into parts of Narathiwat, Yala and Pattani Provinces.

Taba Checkpoint or Tak Bai Checkpoint

This checkpoint is at Ban Taba, Tambon Chehe, approximately 3 kilometers from the district. The checkpoint is another trading post between Thailand and Malaysia apart from the Su-ngai Kolok checkpoint. Crossing over is possible by long-tail boats or by ferry (different landings). Boats leave every 15 minutes and operate between 6.30 a.m. and 5.15 p.m. The fee is 6 baht per person. (same price for every pier) The fee for a motorcycle is 15 baht, a 4-wheel car is 50 baht and a bus is 100 baht.

Visitors wishing to drive a car further than the customs checkpoint have to obtain car insurance for driving in Malaysia. Other regulations are that the car must not have more than 40% tinting and must have seatbelts, as Malaysia is very strict about vehicle safety. It is possible to purchase insurance in Thailand providing coverage for 9 days to 1 year with the normal cost of insurance being between 600 and 700 baht. To get there, take Highway No. 4084 (Amphoe Mueang-Amphoe Tak Bai).

Kubu Beach-Ban Khlong Tan

This 24-kilometer beach extends over Tambon Sai Wan, Tambon Sala Mai and Tambon Chehe ending at the mouth of Maenam Su-ngai Kolok. The beach has a long, powdery beach dotted by shady pine trees that creates a relaxing environment. To get there, take Highway No. 4984 (Narathiwat-Tak Bai) and proceed for 20 kilometers and switch to the beach road that runs for 1 kilometer.

Su-ngai Kolok Checkpoint

The largest border trading area in the province, the checkpoint opens between 5.00 a.m. and 9.00 p.m. Cross-border traffic is via a bridge common between Thailand and Malaysia. Thais like to cross to Rantu Panyang to buy electrical goods and snacks while Malays come over to shop for food and fruits.

The checkpoint is located around 1 kilometer from Su-ngai Kolok train station. There are 2 possible routes from the city. The first is via Highway No. 4055 (Narathiwat-Rangae). Proceed along the highway and turn left at Ban Manang Tayo, then take Highway No. 4056 to Amphoe Su-ngai Padi into Su-ngai Kolok. The second route is by taking Highway No. 4084 from Narathiwat town to Amphoe Tak Bai, turning right to Highway No. 4057 (Tak Bai-Su-ngai Kolok) and proceeding for 66 kilometers.

From Su-ngai Kolok Checkpoint, visitors can drive across the bridge to Kota Bahru in Malaysia, but each car must be insured (see details below under Taba Checkpoint). For a border pass, call tel. 0- 7361-4296.

Siri Maya Pagoda

The bell-shaped pagoda is situated on the hill adjacent to the Khao Kong Buddhist Park. Small pagodas housing Phra Phrom images were built above all four doorways and the holy relics of Lord Buddha are enshrined at the very top of the pagoda. A convocation hall, with the outer walls decorated with carved, terracotta tiles is located on a nearby hill behind which is a figure of an elephant kneeling to present a lotus. In addition, the buildings awning portrays a warrior and an angel holding a jug. Local residents built the pagoda as a dedication to Her Majesty the Queen.


นราธิวาส : ข้อมูลทั่วไป

ทักษิณราชตำหนัก ชนรักศาสนา
นราทัศน์เพลินตา ปาโจตรึงใจ แหล่งใหญ่แร่ทอง ลองกองหอมหวาน

แต่เดิม บ้านบางนรา หรือ มะนาลอ เป็นเพียงหมู่บ้านหนึ่งที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำบางนราใกล้กับทะเล ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) บ้านบางนราถูกจัดอยู่ในเขตปกครองของเมืองสายบุรี ครั้นต่อมาเมื่อปัตตานีได้รับการยกฐานะเป็นมณฑล บ้านบางนราจึงย้ายมาสังกัดเมืองระแงะที่อยู่ในมณฑลปัตตานี กระทั่งปี พ.ศ. 2449 สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) บ้านบางนราได้เจริญเป็นชุมชนใหญ่ มีการค้าทั้งทางบกและทะเลคึกคักมาก จึงได้ย้ายที่ว่าการจากเมืองระแงะมาตั้งที่บ้านมะนาลอ และพ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) เสด็จพระราชดำเนินมาถึงบางนรา และได้พระราชทานชื่อ “นราธิวาส” แปลว่า “ที่อยู่ของคนดี”

ปัจจุบันเป็นจังหวัดหนึ่งในห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่อยู่ในโครงการสาม เหลี่ยมเศรษฐกิจ (IMT-GT Growth Triangle Development Project) มีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวเมืองชายแดนอยู่ที่อำเภอสุไหงโกลก ที่ชาวมาเลเซีย และสิงคโปร์มาเที่ยวพักผ่อนและซื้อสินค้ารวมทั้งเป็นพื้นที่ที่มีการถ่ายเท วัฒนธรรมรวมทั้งสินค้านำเข้า ส่งออกซึ่งกันและกัน

ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีภาษายาวีเป็นภาษาพูดและภาษาเขียนที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน ภาษายาวีมีต้นกำเนิดจากภาษามาลายูซึ่งเป็นภาษาพูดและนำสระและพยัญชนะจากภาษา อาหรับมาใช้ประกอบกัน

จังหวัดนราธิวาส มีพื้นที่ทั้งหมด 4,475.43 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของแหลมมลายู ทิศเหนือจดจังหวัดปัตตานีและอ่าวไทย ทิศตะวันตกจดจังหวัดยะลา ทิศตะวันออกจดอ่าวไทยและประเทศมาเลเซีย และทิศใต้จดรัฐกลันตันของประเทศมาเลเซีย สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นป่าและภูเขาประมาณ 2/3 ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่ติดกับบริเวณอ่าวไทยซึ่งเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำบางนรา แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาสมีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น มีเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูร้อน และฤดูฝน ช่วงที่ฝนตกมากที่สุด คือ ช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม

Link ที่น่าสนใจ
สำนักงานจังหวัดนราธิวาส
http://www.narathiwat.go.th/

นราธิวาส : ข้อมูลการเดินทาง

ข้อมูลการเดินทางของ จ. นราธิวาส

การเดินทางจากนราธิวาสไปยังจังหวัดใกล้เคียง

ปัตตานี
  92 กิโลเมตร
สงขลา
194 กิโลเมตร
ยะลา
128 กิโลเมตร

รถยนต์
     ระยะทาง 1,149 กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ ตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่านจังหวัดประจวบคีรีขันธ์-ชุมพร และทางหลวงหมายเลข 41 ผ่านสุราษฎร์ธานี-นครศรีธรรมราช-พัทลุง-หาดใหญ่ และต่อด้วยทางหลวงหมายเลข 42 เข้าสู่จังหวัดปัตตานี-นราธิวาส สอบถามเส้นทางและแจ้งเหตุตำรวจทางหลวง โทร. 1193

รถไฟ
     การรถไฟแห่งประเทศไทยเปิดบริการเดินรถไฟระหว่าง กรุงเทพฯ – ตันหยงมัส (นราธิวาส) - สุไหงโกลก ทุกวันทั้งรถด่วนและรถเร็ว สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 2223 7010, 0 2223 7020, 1690 สถานีรถไฟสุไหงโกลก โทร. 0 7361 1162, 0 7361 4060 หรือ www.railway.co.th

รถโดยสารประจำทาง
     บริษัท ขนส่ง จำกัด บริการรถกรุงเทพฯ-นราธิวาส-สุไหงโกลก ทุกวัน สอบถามเพิ่มเติม โทร. 02 894 6122 จองตั๋ว บขส. โทร. 02 422 4444  หรือ www.transport.co.th สถานีขนส่งนราธิวาส โทร. 0 7351 1845 สถานีขนส่งสุไหงโกลก โทร. 0 7361 2045

เครื่องบิน
     มีเที่ยวบินกรุงเทพฯ- นราธิวาส ติดต่อ สายการบินแอร์เอเชีย โทร. 0 2515 9999 หรือ www.airasia.com


นราธิวาส : วัฒนธรรมประเพณี

ประเพณีแข่งเรือกอและ
ประวัติ / ความเป็นมา
เรือกอและ ภาษาพื้นเมืองเรียก เรือโยกอง เป็นเรือประมงหาปลาของชาวประมงภาคใต้ของไทย โดยเฉพาะ จังหวัดนราธิวาส ทั้งได้ใช้เรือนี้เป็นเรือแข่งขันมาแต่โบราณ และได้หยุดไป จนกระทั่ง พ.ศ. 2518 จังหวัดนราธิวาสจึงได้ฟื้นฟูประเพณีแข่งเรือกอและขึ้นใหม่อีกครั้ง
การแข่งเรือกอและเมื่อ พ.ศ. 2518 นั้น ประชาชนชาวจังหวัดนราธิวาสพร้อมใจกันจัดขึ้นเพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ อีกทั้งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ในการที่พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินยังจังหวัดนราธิวาส เพื่อทรงประกอบพระราชกรณียกิจทั่วจังหวัดภาคใต้

ครั้งนั้น ได้จัดแข่งหน้าพระที่นั่ง ณ บริเวณปากแม่น้ำบางนรา อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ในวโรกาสเสด็จพระราชดำเนินทรงแปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2518 เรือกอและลำชนะเลิศได้ครองถ้วยพระราชทานประจำปีนั้น ได้แก่ เรือ สิงห์ภักดี ของกลุ่มชาวประมงบาเละฮิเล จังหวัดนราธิวาส
จากนั้นได้จัดต่อเนื่องเป็นประเพณีทุกปี ปีละ 1 ครั้ง เรือชนะเลิศแต่ละ ได้แก่
ปี พ.ศ. 2519 ชนะเลิศ ได้แก่ เรือ นาคราช กลุ่มอำเภอสุไหง-ลก จังหวัดนราธิวาส
ปี พ.ศ. 2520 ไม่มีการแข่งขัน เพราะมีพระราชพิธีสมโภชช้างสำคัญ
ปี พ.ศ. 2521-2522 ได้แก่ เรือนาคราช กลุ่มอำเอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
ปี พ.ศ. 2523 ได้แก่ เรือ “กระทิงรือเสาะ” อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ปี พ.ศ. 2524 ได้แก่ เรือสิงห์ปรีดา อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ปี พ.ศ. 2525 งดการแข่งขัน เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ได้เสด็จแปรพระราชฐาน ประทับแรมยังจังหวัดนราธิวาส
ปี พ.ศ. 2526 เรือชนะเลิศ ได้แก่ เรือสิงห์ตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ปี พ.ศ. 2527 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถเสด็จแปรพระราชฐาน ประทับแรม ณ ตำหนักทักษิณราชนิเวศน์อีกครั้ง ผู้ว่าราชการจังหวัด นายธวัชชัย สมสมาน จึงได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานให้ วันที่ 25 กันยายนของทุกปี เป็นวันประเพณีแข่งขันเรือกอและ

กำหนดงาน
วันที่ 25 กันยายน ทุกปี (จัดคู่กับงานประเพณีของดีเมืองนราและแข่งเรือกอและ ระหว่างวันที่ 21-25 กันยายน) สามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่ www.tat.or.th/festival

กิจกรรม มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ดังนี้
จัดให้มีการแข่งเรือกอและในแม่น้ำบางนรา มีการแข่งขันเรือยาว ซึ่งจัดเพิ่มเติมขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2521
มีการจัดขบวนแห่ถ้วยพระราชทานไปตามถนนสายต่างๆ ในตัวเมืองนราธิวาส จัดขบวนแห่ เรือในแม่น้ำบางนรา กิจกรรมแปรอักษรของนักเรียนโรงเรียนนราธิวาส การแข่งขันกีฬาทางน้ำ มวยทะเล แข่งจับเป็ดในน้ำ ขบวนเรือบายศรี และการแสดง การสาธิตอื่นๆ อีกมาก
กติกาของการแข่งเรือกอและด้วยฝีพาย มีข้อกำหนดที่สำคัญ คือ ต้องเป็นเรือกอและตามประเพณีท้องถิ่น มีส่วนประกอบสำคัญถูกต้องตามข้อกำหนด ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ และฝ่ายตรวจสอบสภาพเรือรวมฝีพาย กำหนดระยะทางการแข่งขัน 650 เมตา จำนวนฝีพายรวมนายท้ายเรือไม่เกิน 23 คน ฝีพายสำรองไม่เกิน 5 คน ต่อลำ
เรือลำใดเข้าสู่เส้นชัยก่อน ถือเป็นชนะในเที่ยวนั้น หากละเมิดกติกาการแข่งปรับแพ้ได้
การแข่งเรือกอและ มีเครื่องดนตรีประกอบด้วย ปี่ชวา 1 เลา โทนขนาดเล็กและใหญ่ (ตัวผู้ – ตัวเมีย) รวม 2 ใบ ฆ้องใหญ่ 1 ใบ บรรเลงเหมือนการแข่งขัน
สิละ

นับได้ว่า การแข่งขันเรือกอและ เป็นประเพณีซึ่งสร้างความสามัคคีระหว่างหมู่คณะ เป็นการเผยแพร่เอกลักษณ์ของท้องถิ่น ให้คนทั่วไปได้รู้เห็นชื่นชม ช่วยสืบทอดงานช่างท้องถิ่นไม่ให้สูญหายไป รวมทั้งก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจากการท่องเที่ยวด้วย
ลักษณะของเรือกอและเรือกอและ ปัจจุบันเป็นเรือกอและชนิดหัวยาว ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบดั้งเดิมไปบ้างนิยมติดท้ายด้วยเครื่องยนต์เรือ หางยาวแทนใบเรือ เช่นที่ใช้ในอดีต แต่เรือกอและที่เข้าแข่งขัน จะต้องสร้างตามแบบประเพณีท้องถิ่น คือ

1. ต้องต่อเรือด้วยกระดานเป็นแผ่นๆ ไม่มีลักษณะเรือขุด
2. ต้องมีกระดูกงู
3. ต้องมีกง
4. หัวเรือจะสั้นหรือยาวก็ได้ แต่ต้องมีลักษณะของหัวเรือกอและ

น อกจากนี้ เรือทุกลำที่เข้าแข่งขันต้องตกแต่งด้วยการเขียนสีเป็นลวดลายขนตัวเรือตามแบบ ประเพณีนิยม มักเป็นลายสัตว์จากวรรคดี หรือตำนานพื้นบ้าน เช่น นาค หนุมาน สิงห์ สมัยโบราณ ลำเรือมีความยาว วัดได้ 20-25 ศอก (1 ศอกเท่ากับ 1 ฟุต โดยประมาณ) นิยมสร้างจากไม้ตะเคียนและไม้ลำพู เรือกอและหัวปาด หรือเรือโยกอง ปัจจุบันสาบสูญหมดแล้ว เรือกอและลำแพกไม่มีสีสันลวดลายสันนิษฐานว่า เริ่มมีขึ้นมาจากชาวประมงในเขต “กำปงตะลูแบ” ปัจจุบัน คือ ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ด้วยเหตุที่การประมงทางชายฝั่งภาคใต้ซบเซาลง ประกอบกับไม้ซึ่งจะมาทำเรือหายากขึ้นทำให้จำนวนเรือกอและลดน้อยลงเรื่อยๆ ช่างผู้ชำนาญงานสร้าง งานประดิษฐ์ลวดลายก็ลดจำนวนลงด้วย แต่ยังคงอนุรักษ์แบบของศิลปะโบราณของชาวมุสลิมไว้ได้ ในรูปของงานหัตถกรรมพื้นบ้าน โดยการสร้างรูปเรือกอและจำลองเป็นหัตถกรรมพื้นบ้าน ซึ่งจำหน่ายเป็นของที่ระลึกแก่นักท่องเที่ยวทั่วไป / พิธี

ประเพณีสวดนาของไทย<br /> ประวัติ / ความเป็นมา
เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งของชาวไทยพุทธ จังหวัดนราธิวาส จัดขึ้นหลังจากทุกครัวเรือนในหมู่บ้านดำนาเสร็จหมดแล้ว ต่างพากันนัดแนะ กำหนดวันและสถานที่ประกอบพิธีกรรม มีการทำพิธีทั้งพุทธและพิธีไสย เพื่อขอให้ข้าวกล้าและน้ำในนาอุดมสมบูรณ์ดี

กำหนดงาน
หลังปักดำครบทั้งหมู่บ้าน ไม่มีกำหนดวันที่แน่นอน แต่จะเป็นวันฤกษ์ดี ที่ทุกคนพร้อมสามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่ www.tat.or.th/festival

กิจกรรม / พิธี
เริ่มด้วยการกำหนดวันและสถานที่ทำพิธี จะเป็นวันฤกษ์ดี หลังจากที่ทุกบ้านในหมู่บ้านปักดำนาเสร็จแล้ว สถานที่ประกอบพิธีมักเป็นศาลาพักร้อนกลางนา หรือปลายนา

ก่อนวันทำพิธี วัน ชาวบ้านจะทำต้มห่อใบกะพ้อ (เหมือนกับต้มที่ใช้ในประเพณีวันออกพรรษา) เพื่อไปถวายพระและสวดนา
วันประกอบพิธีนิมนต์พระสงฆ์ รูป ชาวบ้านนำต้ม และอาหารคาวหวาน ที่เตรียมไว้มาในงานเพื่อถวายพระทั้งเวลาเช้าและเพล
ก่อนเวลาพระสงฆ์ฉันเพล ชาวบ้านจะนำหม้อหรือกระถางใส่น้ำและใบไม้มงคลตามความเชื่อ เช่น ใบเงินใบทอง (ใบโกสน) ใบเฉียงพร้า และเทียนไข 1เล่ม เตรียมเป็นหม้อน้ำมนต์ นอกจากนี้ยัง เตรียมใบหมาก ใบเฉียงพร้า หรือใบเงินใบทอง ไว้สำหรับใช้พรมน้ำมนต์ใส่ไว้ในหม้อด้วย หม้อน้ำมนต์ที่ชาวบ้านจัดเตรียมไว้นี้ จะนำไปแขวนหรือวางไว้รอบศาลาประกอบพิธี

พิธีทางพุทธ เริ่มด้วยพระสงฆ์โยงสายสิญจน์จากศาลาลงไปสู่นาข้าวที่ใกล้ที่สุด จากนั้นจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย อาราธนาศีล อาราธนาพระปริตร พระสงฆ์เจริญศีล เจริญพระพุทธมนต์ จากนั้นจะมีผู้ทำพิธีทางไสย คือไหล้าพระภูมิเจ้าที่ มีเครื่องเซ่นสังเวยขอให้ข้าวกล้าในนาเติบโตแข็งแรง มีน้ำท่าบริบูรณ์เมื่อเสร็จแล้วถวายเพลพระสงฆ์ จากนั้นชาวบ้านรับประทานอาหารร่วมกัน แล้วจึงนำหม้อน้ำมนต์ที่เตรียมไว้ก่อนหน้านี้ แยกย้ายไปประพรมนาข้าวของตนทุกแปลง ตั้งแต่หัวนาถึงปลายนา เมื่อหมดแปลงสุดท้ายจะนำใบไม้ที่ใช้พรมน้ำมนต์ปักในนาแปลงนั้น เป็นเสร็จพิธี
นราธิวาส : สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ

อุทยานแห่งชาติเทือกเขาบูโด – สุไหงปาดี

สมัยก่อนเทือกเขาบูโด-สุไหงปาดี เป็นส่วนหนึ่งของทิวเขาสันกาลาคีรีที่แบ่งเขตแดนไทย-มาเลเซีย เคยเป็นที่ซ่องสุมของผู้ก่อการร้าย จึงไม่ค่อยมีผู้ใดเข้ามาสัมผัสความมหัศจรรย์ของผืนป่าดงดิบแห่งนี้ เมื่อสถานการณ์คลี่คลายลง ในปี พ.ศ. 2517 กรมป่าไม้จึงจัดตั้งวนอุทยานน้ำตกปาโจ และกลายมาเป็นอุทยานแห่งชาติบูโด-สุไหงปาดี ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 294 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของนราธิวาส ยะลา และปัตตานีเทือกเขาบูโดนี้จัดเป็นส่วนหนึ่งของป่าดิบร้อนแบบอินโด-มาลายัน ป่าดิบชื้นเขตร้อนซึ่งมีความชื้นสูงเพราะมีน้ำฝนตกตลอดปี และเป็นป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด เมื่อเทียบกับป่าประเภทอื่นในพื้นที่เท่าๆ กัน ป่าเขตร้อนนี้จะพบเฉพาะแนวเส้นศูนย์สูตร คือ พื้นที่ระหว่างเส้นทรอปิคออฟแคนเซอร์ที่ 23 [1/2] องศาเหนือและใต้ ในประเทศไทยจะอยู่ในช่วงคอคอดกระจังหวัดระนองลงไป นักพฤกษศาสตร์แบ่งป่าเขตร้อนทั่วโลกออกเป็นสามเขตใหญ่ คือ ป่าฝนเขตร้อนทวีปอเมริกา ป่าฝนเขตร้อนแถบอินโด-มาลายัน และป่าเขตร้อนแถบทวีปแอฟริกา
พันธุ์ไม้เด่นของที่นี่คือ “ใบไม้สีทอง” หรือ “ย่านดาโอ๊ะ” เมื่อปี พ.ศ. 2531 พันธุ์ไม้ชนิดนี้ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกในโลกที่นี่ ใบไม้สีทองเป็นไม้เลื้อย มีลักษณะใบคล้ายใบชงโคหรือใบเสี้ยว แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก บางใบใหญ่กว่าฝ่ามือเสียอีก มีขอบหยักเว้าเข้าทั้งที่โคนใบ และปลายใบ ลักษณะคล้ายวงรีสองอันอยู่ติดกัน ทุกส่วนของใบจะปกคลุมด้วยขนกำมะหยี่เนียนนุ่ม มีสีทองหรือสีทองแดงเหลือบรุ้งเป็นประกายงดงามยามต้องแสงอาทิตย์ สามารถมองเห็นได้จากระยะไกล หากขึ้นในที่ที่มีความชื้นสูงลักษณะของใบจะยิ่งนุ่มหนาตามไปด้วย เมื่อใบใหญ่เต็มที่ จึงเริ่มเปลี่ยนเป็นสีบรอนซ์เงิน หรือเขียวในที่สุด ช่อดอกสีขาวของย่านดาโอ๊ะก็เตะตาไม่แพ้กัน ใกล้ๆ สำนักงานอุทยานฯ ก็มีอยู่ต้นหนึ่งให้ชื่นชม และยังมีพันธุ์ไม้ที่สำคัญ หายาก มีราคาแพง และกำลังจะสูญพันธุ์ คือ “หวายตะค้าทอง”
สัตว์ป่าหายากที่เคยพบในบริเวณนี้คือ แรด ชะนีมือดำ สมเสร็จ และเลียงผา และที่สำคัญ คือ ค่างแว่นถิ่นใต้ มีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทางตอนใต้ของพม่า ภาคใต้ของประเทศไทย ไปจนถึงมาเลเซียและหมู่เกาะใกล้เคียง มักอาศัยอยู่ตามภูเขาสูงชันและป่าดงดิบ อยู่รวมกันเป็นฝูงประมาณ 30-40 ตัว มีตัวผู้ที่แข็งแรงที่สุดเป็นจ่าฝูง ปกตินิสัยขี้อาย กลัวคน ไม่ก้าวร้าวดังเช่นลิง (นอกจากค่างแว่นถิ่นใต้แล้ว ในประเทศไทยยังพบค่างอีกสามชนิด ได้แก่ ค่างดำ ค่างหงอก และค่างแว่นถิ่นเหนือ ในปัจจุบันค่างทั้งสี่ชนิดถูกจัดให้เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีสถานภาพ ถูกคุกคาม) ในอุทยานฯมีน้ำตกอยู่หลายแห่ง เช่น น้ำตกภูแว น้ำตกปาโจ และน้ำตกปากอ แต่ที่รู้จักกันทั่วไป นักท่องเที่ยวเข้าถึงได้สะดวก คือ “น้ำตกปาโจ” เป็นน้ำตกที่มีลักษณะเป็นหน้าผาสูงกว้าง คำว่า “ปาโจ” เป็นภาษามลายูท้องถิ่นมีความหมายว่า “น้ำตก” ที่น้ำตกปาโจนี้มีทางขึ้นไปสู่ต้นน้ำเป็นชั้นๆ รวม 9 ชั้น นับว่าเป็นน้ำตกที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดและสวยงามแห่งหนึ่งของภาคใต้ แต่เนื่องจากสภาพป่าโดยรอบไม่สมบูรณ์นัก ในหน้าแล้งน้ำจึงค่อนข้างน้อย นอกจากน้ำตกยังมีสถานที่น่าสนใจอื่นๆ ได้แก่ ศาลาธารทัศน์ ซึ่งเคยเป็นพลับพลาที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในคราวเสด็จประพาสจังหวัดนราธิวาส และยังมีก้อนหินสลักพระปรมาภิไธยตั้งอยู่ในบริเวณน้ำตกปาโจด้วย ฤดูท่องเที่ยวที่นี่ตลอดทั้งปี
การเดินทาง อยู่ห่างจากตัวจังหวัดนราธิวาส 26 กิโลเมตร ใช้ทางหลวงหมายเลข 42 ไปยังอำเภอบาเจาะถึงบริเวณสี่แยกเข้าตัวอำเภอ ให้เลี้ยวเข้าไปตามถนนอีกประมาณ 2 กิโลเมตร ถึงที่ทำการอุทยานฯ
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร (ป่าพรุโต๊ะแดง


ป่าพรุสิรินธรเป็นส่วนหนึ่งของป่าพรุโต๊ะแดง ป่าพรุแห่งสุดท้ายของประเทศไทย ซึ่งคลุมพื้นที่ของ 3 อำเภอ คือ อำเภอตากใบ อำเภอสุไหงโกลก และอำเภอสุไหงปาดี มีพื้นที่ประมาณ 120,000 ไร่ แต่ส่วนที่สมบูรณ์โดยประมาณมีเพียง 50,000 ไร่ เป็นป่าที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ด้วยสัตว์ป่าและ พรรณไม้ พื้นที่ป่าพรุมีลำน้ำสำคัญหลายสายไหลผ่าน คือ คลองสุไหงปาดี แม่น้ำบางนรา และคลองโต๊ะแดง อันเป็นที่มาของชื่อป่าภายในศูนย์ฯ ได้จัดให้มีทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติ เพื่อประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับธรรมชาติของป่าพรุ เริ่มที่บึงน้ำด้านหลังอาคารศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธรเป็น สะพานไม้ต่อลัดเลาะเข้าไปในป่าพรุ ระยะทาง 1,200 เมตร บางช่วงเป็นสะพานไม้ร้อยลวดสลิง บางช่วงเป็นหอสูงสำหรับมองทิวทัศน์เบื้องล่างที่ชอุ่มไปด้วยไม้นานาพรรณใน ป่าพรุ จะมีป้ายชื่อต้นไม้ที่น่าสนใจ และซุ้มความรู้อยู่เป็นจุดๆ สำหรับให้ความรู้แก่ผู้เดินชมด้วย เปิดทุกวันเวลา 8.00–16.00 น. ไม่เสียค่าเข้าชม และยังมีห้องจัดนิทรรศการให้ความรู้แก่คนที่มาเที่ยวชมอีกด้วย
ป่าพรุ หรือ peat swamp forest เกิดขึ้นได้อย่างไร ? คำตอบคือ เกิดจากแอ่งน้ำจืดขังติดต่อกันชั่วนาตาปี และมีการสะสมของชั้นดินอินทรียวัตถุ ก็คือซากพืช ซากต้นไม้ ใบไม้ จนย่อยสลายอย่างช้าๆ กลายเป็นดินพีท (peat) หรือดินอินทรีย์ที่มีลักษณะหยุ่นยวบเหมือนฟองน้ำมีความหนาแน่นน้อยอุ้มน้ำ ได้มาก และพบว่ามีการสะสมระหว่างดินพีท กับดินตะกอนทะเล สลับชั้นกัน 2-3 ชั้น เนื่องจากน้ำทะเลเคยมีระดับสูงขึ้นจนท่วมป่าพรุ เกิดการสะสมของตะกอน น้ำทะเลถูกขังอยู่ด้านใน พันธุ์ไม้ในป่าพรุตายไปและเกิดป่าชายเลนขึ้นแทนที่ เมื่อระดับน้ำทะเลลดลงและมีฝนตกลงมาสะสมน้ำที่ขังอยู่จึงจืดลง และเกิดป่าพรุขึ้นอีกครั้ง ดินพรุชั้นล่างมีอายุถึง 6,000-7,000 ปี ส่วนดินพรุชั้นบนอยู่ระหว่าง 700-1,000 ปี
ระบบนิเวศน์ในป่าพรุนั้นมีหลากหลาย ทุกชีวิตล้วนเกี่ยวพันต่อเนื่องกัน ไม้ยืนต้นจะมีระบบรากแขนงแข็งแรงแผ่ออกไปเกาะเกี่ยวกันเพื่อจะได้ช่วยพยุงลำ ต้นของกันและกันให้ทรงตัวอยู่ได้ ฉะนั้นต้นไม้ในป่าพรุจึงอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม หากต้นใดล้ม ต้นอื่นจะล้มตามไปด้วย
พันธุ์ไม้ที่พบในป่าพรุมีกว่า 400 ชนิด บางอย่างนำมารับประทานได้ เช่น หลุมพี ซึ่งเป็นไม้ในตระกูลปาล์ม มีลักษณะต้นและใบคล้ายปาล์ม แต่มีหนามแหลมอยู่ตลอดก้าน ผลมีลักษณะคล้ายระกำ แต่จะเล็กกว่า รสชาติออกเปรี้ยว ชาวบ้านนำมาดองและส่งขายฝั่งมาเลเซีย ซึ่งคนมาเลย์จะนิยมมาก ฤดูเก็บจะอยู่ในช่วงเดือน พฤศจิกายน-มีนาคม ถ้าเป็นช่วงอื่นจะหายากและราคาสูง บางอย่างเป็นพืชพรรณในเขตมาเลเซีย เช่น หมากแดง ซึ่งมีลำต้นสีแดง เป็นปาล์มชั้นดีมีราคา มีผู้นิยมนำไปเพาะเพื่อประดับสวน เพราะความสวยของกาบและใบ ลำต้นมีสีแดงดังชื่อ ยังมีพืชอีกหลายชนิดที่น่าสนใจ เช่น ปาหนันช้าง พืชในวงศ์กระดังงาที่มีดอกใหญ่และ กล้วยไม้กับพืชเล็กๆ ซึ่งจะต้องสังเกตดีๆ จึงจะได้เห็น
สัตว์ป่าที่พบกว่า 200 ชนิด เช่น ค่าง ชะมด หมูป่า หมีขอ แมวป่าหัวแบน(ซึ่งเป็นสัตว์คุ้มครองที่หายากอีกชนิดหนึ่งของไทย) หนูสิงคโปร์ พบค่อนข้างยากในคาบสมุทรมลายูแต่ชุกชุมมากบนเกาะสิงคโปร์ สำหรับประเทศไทยพบชุกชุมในป่าพรุโต๊ะแดงนี้เท่านั้น และหากป่าพรุถูกทำลายหนูเหล่านี้อาจออกไปทำลายผลิตผลของเกษตรกรในพื้นที่โดย รอบได้
พันธุ์ปลาที่พบ ได้แก่ ปลาปากยื่น เป็นปลาชนิดใหม่ของโลกพบที่ป่าพรุสิรินธรนี้เท่านั้น ปลาดุกรำพัน ที่มีรูปร่างคล้ายงูซึ่งอาจพัฒนาเป็นปลาเศรษฐกิจที่ใช้เลี้ยงในแหล่งที่มี ปัญหาน้ำเปรี้ยวได้ ปลากะแมะ รูปร่างประหลาดมีหัวแบนๆกว้างๆ และลำตัวค่อยๆยาวเรียวไปจนถึงหาง มีเงี่ยงพิษอยู่ที่ครีบหลัง ปลาเหล่านี้จะอาศัยป่าพรุเป็นพื้นที่หลบภัยและวางไข่ก่อนที่จะแพร่ลูก หลานออกไปให้ชาวบ้านได้อาศัยเป็นเครื่องยังชีพ
นกที่นี่มีหลายชนิด แต่ที่เด่นๆ ได้แก่ นกกางเขนดงหางแดง มีมากในเกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่นี่เมื่อปีพ.ศ. 2530 นกจับแมลงสีฟ้ามาเลเซีย ซึ่งในประเทศไทยจะพบที่ป่าพรุสิรินธรเพียงแห่งเดียวเท่านั้น และปัจจุบันนกทั้งสองชนิดอยู่ในภาวะล่อแหลมต่อการสูญพันธุ์
ความน่าสนใจของป่าพรุไม่ใช่เพียงแต่ พรรณไม้แปลกๆ สัตว์ป่าหายาก แต่คนที่ไปเที่ยวโดยเฉพาะเด็กๆจะได้ประสบการณ์ชีวิตกลับไปมากมาย จากธรรมชาติรอบตัวบางทีหากเดินชมธรรมชาติเงียบๆอาจจะได้พบสัตว์ป่ากำลังหา อาหารอยู่ก็เป็นได้ เส้นทางนี้นำเราเข้าไปหาธรรมชาติอย่างใกล้ชิดแต่ก็ไม่ได้นำเราเข้าไปล่วง เกินธรรมชาติมากนัก
หากนำคู่มือดูนก สมุดบันทึก ดินสอสี กล้องส่องตา กล้องถ่ายรูป และยาทากันยุงไปด้วย อาจจะเพลิดเพลินจนใช้เวลาในนี้ได้ทั้งวัน อากาศสดชื่นเย็นสบายในป่าพรุก็ยังทำให้คนที่เข้าไปเยือนรู้สึกสดชื่นประทับ ใจ แต่ช่วงเวลาที่มาท่องเที่ยวได้สะดวกคือ กุมภาพันธ์-เมษายน เพราะฝนจะตกน้อยที่สุด เนื่องจากป่าพรุมีภูมิอากาศแบบคาบสมุทร ฉะนั้นจึงมีฝนตกชุกตลอดปี
สิ่งที่ต้องให้ความระมัดระวังก็คือ ยุงดำ สัตว์กินเลือด พาหะนำโรคเท้าช้าง ซึ่งจะมีอยู่ชุกชุมและออกหาอาหารในช่วงเวลาค่ำ และ ไฟป่า ที่อาจเกิดขึ้นได้จากการสูบบุหรี่ โดยเผลอทิ้งก้นบุหรี่ลงไป เมื่อป่าพรุเกิดไฟป่าแล้วจะดับยากมากกว่าป่าชนิดอื่น เนื่องจากเชื้อเพลิงไม่ได้มีแค่ต้นไม้ในป่า แต่รวมไปถึงซากไม้ และต้นไม้ที่ทับถมกันในชั้นดินพรุ จึงเป็นไฟที่ลุกลามลงไปใต้ดิน ทำให้การควบคุมหรือดับไฟลำบาก ไฟจะคุกรุ่นกินเวลานับเดือนๆ ต้องรอจนกว่าจะมีฝนตกชุก น้ำท่วมผิวดินไฟจึงจะดับสนิท
การเดินทาง
เดินทางโดยรถไฟ จากกรุงเทพฯจะค่อนข้างสะดวกกว่า เพราะสถานีปลายทางอยู่ที่อำเภอสุไหงโกลก หากมิได้นำรถมาเองสามารถใช้บริการรถรับจ้างจากตัวเมืองสุไหงโกลกได้โดยสะดวก
ทางรถยนต์ จากอำเภอตากใบใช้เส้นทางตากใบ - สุไหงโกลก (ทางหลวงหมายเลข 4057) ประมาณ 5 กิโลเมตร จะมีทางแยกเล็กๆ เข้าสู่ถนนชวนะนันท์ เข้าไปประมาณ 3กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายไปอีก 2 กิโลเมตร มีป้ายบอกทางเข้าสู่ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธรเป็นระยะ สอบถามรายละเอียดที่ ตู้ปณ. 37 อำเภอสุไหงโกลก นราธิวาส 96120

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา

เป็น พื้นที่อนุรักษ์แห่งใหม่ของประเทศไทย ได้รับการประกาศจัดตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2539 อันเป็นแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย มีพื้นที่ประมาณ 270,725 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ทิวเขาสันกาลาคีรี ป่าฮาลาและป่าบาลาเป็นผืนป่าดงดิบที่ไม่ต่อเนื่องกัน แต่ได้รับการประกาศเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเดียวกัน คือ ป่าฮาลา ในเขตอำเภอเบตง จังหวัดยะลา และ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส แต่ส่วนที่เปิดให้ประชาชนเข้าไปศึกษาธรรมชาติได้ จะเป็นป่าบาลาเท่านั้น ป่าบาลามีพื้นที่ครอบคลุม อำเภอแว้ง และอำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
มีการตัดถนนสายความมั่นคง (ทางหลวงหมายเลข 4062) ไปตามเทือกเขาสันกาลาคีรี ทำให้การเข้าถึงพื้นที่ป่าง่ายขึ้น เริ่มจากบ้านบูเก๊ะตา อำเภอแว้ง ตัดผ่านป่าบาลาและไปสิ้นสุดที่ บ้านภูเขาทองในอำเภอสุคิริน รวมระยะทาง 18 กิโลเมตร สองข้างทางมีสภาพเป็นป่าดงดิบที่สมบูรณ์ที่สุดในประเทศไทย สำหรับการศึกษาธรรมชาติที่นี่เพียงขับรถไปตามถนนสายความมั่นคงก็จะได้ชมสิ่ง พิเศษมากมาย เริ่มจากที่ทำการเขตฯ เป็นต้นไป
ห่างจากสำนักงานมาประมาณ 5 กิโลเมตร จะมีจุดชมสัตว์ บริเวณนี้จะมีต้นไทรขึ้นอยู่มาก และสัตว์มักจะมาหากินลูกไทรเป็นอาหาร ตรงเข้ามาอีกประมาณ 10 กิโลเมตร จะพบที่ตั้งของหน่วยพิทักษ์ภูเขาทองซึ่งเป็นหน่วยย่อยของเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าฮาลา-บาลา ซึ่งตั้งอยู่ริมถนนสายดังกล่าว จะเป็นทำเลที่สามารถเห็นทะเลหมอกอีกจุดหนึ่ง จากจุดนี้เดินเข้าไปประมาณ 100 เมตร จะพบ ต้นสมพง(กระพง)ยักษ์ ขนาดเส้นรอบวง 25 เมตร ความสูงของพูพอน(ส่วนที่อยู่โคนต้นไม้เป็นปีกแผ่ออกไปรอบๆ ส่วนใหญ่มักจะเป็นไม้ใหญ่ที่อยู่ริมน้ำ เพราะจะช่วยในการพยุงลำต้น) สูงประมาณ 4 เมตร ต้นสมพงเป็นไม้ที่ชอบขึ้นตามริมน้ำ เป็นไม้เนื้ออ่อนใช้ทำไม้จิ้มฟัน หรือไม้ขีด
สองข้างทางจะได้เห็นพันธุ์ไม้ต่าง ๆ ที่ไม่อาจหาชมได้ง่าย ๆ จากที่อื่นในเมืองไทย เช่น ต้นยวน ไม้ยืนต้นในวงศ์ถั่วที่สวยเด่นสะดุดตา เห็นได้แต่ไกลจากถนน ด้วยผิวเปลือกที่ขาวนวล และรูปร่างที่สูงชะลูด สามารถสูงได้ถึง 65-70 เมตร ถือว่ามีความสูงเป็นอันดับสามของโลก รองจากต้นเรดวูด และยูคาลิบตัส มักถูกตัดไปทำเฟอร์นิเจอร์ ต้นสยา ไม้ในวงศ์ยางซึ่งเป็นไม้เด่นของป่าฮาลา-บาลา จากจุดชมวิวจะเห็นเรือนยอดของต้นสยาขึ้นเบียดเสียดกัน ถ้าซุ่มสังเกตดี ๆ อาจจะได้พบนกเงือก เพราะต้นสยานี้เองที่เป็นแหล่งทำรังสำคัญของนกเงือก
ต้นหัวร้อยรูหนาม เป็นหนึ่งในบรรดาพืชที่พบ เป็นรายงานใหม่สำหรับประเทศไทย ฯลฯ
ยังมีสัตว์ป่าที่ทำให้ป่าแห่งนี้มีความสมดุลทางระบบนิเวศน์ได้ สัตว์ที่อาศัยอยู่ที่นี่หลายชนิดเป็นสัตว์ที่หายากในไทย เช่น ชะนีดำใหญ่ หรือ เซียมัง มีสีดำตลอดตัว และมีขนาดใหญ่กว่าชะนีธรรมดาเกือบเท่าตัว ชะนีมือดำ ซึ่งปกติจะพบเฉพาะในป่าบนเกาะสุมาตรา บอร์เนียว และป่าบริเวณทางเหนือของมาเลเซียถึงทางใต้ของไทยเท่านั้น บางครั้งอาจจะโชคดีได้พบเจ้าสองตัวนี้เกาะอยู่บนยอดกิ่งไม้ นอกจากนั้นยังมี กบทูด ซึ่งเป็นกบขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ความยาวจากปลายปากถึงก้น ประมาณ 1 ฟุต น้ำหนักกว่า 5 กิโลกรัม มีถิ่นอาศัยอยู่บริเวณป่าต้นน้ำบนภูเขาสูง และจากการสำรวจพบสัตว์ป่าสงวน 4 ชนิด คือ เลียงผา สมเสร็จ แมวลายหินอ่อน และ กระซู่ นกเงือกซึ่งเป็นดัชนีชี้วัดความสมบูรณ์ของป่า และเป็นนกหายากชนิดหนึ่ง แต่ในป่านี้พบถึง 9 ใน 12 ชนิดของนกเงือกที่พบในไทย ได้แก่ นกเงือกปากย่น นกเงือกชนหิน(เป็นนกเงือกชนิดเดียวที่มีโหนกแข็งทึบ ชาวบ้านในอินโดนีเซียจึงล่านกชนหินเพื่อเอาโหนกไปแกะสลักอย่างงาช้าง) นกแก๊ก นกกก นกเงือกหัวหงอก นกเงือกปากดำ นกเงือกหัวแรด นกเงือกดำ นกเงือกกรามช้าง ฤดูที่เหมาะสมที่สุด คือ กุมภาพันธ์-เมษายน
ผู้ที่มีความประสงค์เข้าพื้นที่เพื่อศึกษาธรรมชาติ ต้องทำหนังสือแจ้งความประสงค์มาล่วงหน้าที่เขตรักษาพันธุ์สัตวป่าฮาลา-บาลา ตู้ ป.ณ. 3 อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส 96160 หรือฝ่ายกิจการเขตรักษาพันธุ์ สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กรมป่าไม้ กรุงเทพฯ ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 0 7351 9202
สิ่งอำนวยความสะดวก ด้วยพื้นที่เขตรักษาพันธุ์เป็นพื้นที่เปราะบาง จึงไม่อนุญาตให้นักท่องเที่ยวเข้าไปพักแรม
การเดินทาง สามารถเหมารถสองแถวได้ที่ตลาดอำเภอแว้ง หรือสถานีรถไฟสุไหงโกลก หรือขับรถไปตามทางหลวงหมายเลข 4057 มุ่งหน้าไปยังอำเภอแว้ง จนถึงบ้านบูเก๊ะตา จะมีป้ายบอกทางให้ขับต่อไปทางเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา
ฤดูกาลที่เหมาะแก่การไปศึกษาธรรมชาติที่นี่คือตั้งแต่ปลายเดือนกุมภาพันธ์จน ถึงเดือนกันยายน ซึ่งจะมีฝนตกลงมาไม่มากเกินไปนัก

เกาะยาว

ตั้งอยู่ไม่ไกลจากวัดชลธาราสิงเห จากสี่แยกตลาดอำเภอตากใบเลยไปยังแม่น้ำตากใบ มีสะพานไม้ชื่อ “สะพานคอย 100 ปี” ยาว 345 เมตร ทอดข้ามแม่น้ำตากใบไปยังเกาะยาว ซึ่งทางด้านตะวันออกของเกาะจะติดกับทะเล มีหาดทรายละเอียดสีน้ำตาล บรรยากาศสงบงาม ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นมุสลิมประกอบอาชีพประมงและสวนมะพร้าว

 

 

พระพุทธอุทยานเขากง (วัดเขากง-พระพุทธทักษิณมิ่งมงคล

มี เนื้อที่ 142 ไร่ ตั้งอยู่ที่ตำบลลำภู จากตัวเมืองใช้เส้นทางนราธิวาส-ระแงะ (ทางหลวงหมายเลข 4055) ประมาณ 9 กิโลเมตร จะมองเห็นวัดเขากง และพระพุทธรูปทักษิณมิ่งมงคลสีทองปางปฐมเทศนาขัดสมาธิเพชรอยู่บนยอดเขา เป็นศิลปะสกุลช่างอินเดียตอนใต้ เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2509 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2512 องค์พระเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กประดับด้วยโมเสกสีทอง หน้าตักกว้าง 17 เมตร ความสูงวัดจากพระเกศบัวตูมถึงบัวใต้พระเพลา 24 เมตร จัดเป็นพระพุทธรูปกลางแจ้งที่งดงามและใหญ่ที่สุดในภาคใต้ เนินเขาลูกถัดไปมีเจดีย์สิริมหามายาซึ่งเป็นทรงระฆัง เหนือซุ้มประตูทั้ง 4 ทิศมีเจดีย์รายประดับอยู่ ภายในประดิษฐานพระพรหม บนยอดสุดบรรจุพระบรมสารีริกธาตุอันศักดิ์สิทธิ์ เนินเขาถัดไปอีกลูกหนึ่งเป็นที่ตั้งของอุโบสถ ผนังด้านนอกทั้งสี่ด้านประดับกระเบื้องดินเผาแกะสลัก ด้านหลังเป็นรูปช้างหมอบถวายดอกบัว หน้าบันเป็นรูปนักรบมีเทวดาถือคนโทถวาย

ชายหาดนราทัศน์

เป็น หาดทรายขาวสะอาดยาวประมาณ 5 กิโลเมตร ไปสิ้นสุดที่ปลายแหลมด้านปากแม่น้ำบางนราซึ่งใช้เป็นสถานที่จัดการแข่งขัน เรือกอและที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีด้วย แนวสนทำให้บรรยากาศริมทะเลร่มรื่นมากขึ้น ชาวบ้านนิยมมาพักผ่อนหย่อนใจกันที่นี่ ใกล้ๆ กันมีหมู่บ้านชาวประมงตั้งกระจัดกระจายตามริมแม่น้ำบางนรา และบริเวณเวิ้งอ่าวมีเรือกอและของชาวประมงจอดยู่มากมาย อยู่เลยจากตัวเมืองนราธิวาสไปตามถนนสายพิชิตบำรุง ประมาณ 1 กิโลเมตร นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการรถจักรยานยนต์ รถสามล้อถีบหรือรถสองแถวเล็กจากตัวเมืองนราธิวาสไปยังหาดนราทัศน์ได้สะดวก
มัสยิด 300 ปี (มัสยิดวาดีอัลฮูเซ็น หรือ มัสยิดตะโละมาเนาะ)

บ้าน ตะโละมาเนาะ ตำบลลุโบะสาวอ ห่างจากจังหวัดนราธิวาส เป็นระยะทาง 25 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 42 แล้วแยกที่บ้านบือราแง นายวันฮูเซ็น อัส-ซานาวี ผู้อพยพมาจากบ้านสะนอยานยา จังหวัดปัตตานี เป็นผู้สร้างเมื่อ พ.ศ. 2167 เริ่มแรกสร้างหลังคามุงใบลาน ต่อมาเปลี่ยนเป็นกระเบื้องดินเผา ลักษณะของมัสยิดมีความแตกต่างจากมัสยิดทั่วไป คือเป็นอาคาร 2 หลังติดต่อกัน สร้างด้วยไม้ตะเคียนทั้งหลัง ลักษณะการสร้างจะใช้ไม้สลักแทนตะปู รูปทรงของอาคารเป็นแบบไทยพื้นเมืองประยุกต์เข้ากับศิลปะจีน และมลายูออกมาได้ลงตัว ส่วนเด่นที่สุดของอาคาร คือ เหนือหลังคาจะมีฐานมารองรับจั่วบนหลังคาอยู่ชั้นหนึ่ง ส่วนหออาซานซึ่งมีลักษณะเป็นเก๋งจีน ก็ตั้งอยู่บนหลังคาส่วนหลัง ฝาเรือนใช้ไม้ทั้งแผ่นแล้วเจาะหน้าต่าง ส่วนช่องลมแกะเป็นลวดลาย ใบไม้ ดอกไม้สลับลายจีน ปัจจุบันมัสยิดนี้ยังใช้เป็นสถานประกอบศาสนกิจของชาวมุสลิม หากต้องการเข้าชมภายในต้องได้รับอนุญาตจากโต๊ะอิหม่ามประจำหมู่บ้าน โดยทั่วไปเข้าชมได้บริเวณภายนอกเท่านั้น นอกจากนั้นหมู่บ้านตะโละมาเนาะในอดีตยังเป็นแหล่งผลิตคัมภีร์อัลกุรอาน ที่เขียนด้วยมือด้านข้างมัสยิดมีสุสานชาวมุสลิม ถ้าเป็นของผู้ชายหินที่ประดับอยู่บนหลุมฝังศพจะมีลักษณะกลม ถ้าเป็นของผู้หญิงจะเป็นหินเพียงซีกเดียว
วัดชลธาราสิงเห

ตั้ง อยู่หมู่ 3 ตำบลเจ๊ะเห ริมฝั่งแม่น้ำตากใบ จากตัวเมืองออกไปตามเส้นทางสาย นราธิวาส-ตากใบ (ทางหลวงหมายเลข 4085) ถึงสี่แยกตลาดอำเภอตากใบแล้วเลี้ยวซ้ายไปอีกประมาณ 100 เมตร จะถึงปากทางเข้าวัด ท่านพระครูโอภาสพุทธคุณ (พุด) เป็นผู้เริ่มก่อตั้งวัดนี้ขึ้นและต้องไปขอที่ดินจากพระยากลันตันเพื่อที่จะ สร้างวัด เมื่อ พ.ศ. 2416 สมัยนั้นดินแดนตากใบยังเป็นของรัฐกลันตันอยู่

วัดนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับกรณีแบ่งแยกดินแดนตากใบประเทศสยามกับ ประเทศมลายู ซึ่งเป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษในขณะนั้น (สมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2452) โดยฝ่ายไทยได้มีการยกเอาพระพุทธศาสนา วัดและศิลปะในวัด เป็นเครื่องต่อรองการแบ่งปันเขตแดน อังกฤษจึงยอมรับเหตุผล โดยให้นำเอาแม่น้ำโกลกตรงบริเวณที่ไหลผ่านเมืองตากใบ (แม่น้ำตากใบ) เป็นเส้นแบ่งเขตแดน วัดนี้จึงรู้จักในอีกนามหนึ่งว่า “วัดพิทักษ์แผ่นดินไทย”
บรรยากาศโดยทั่วไปในวัดชลธาราสิงเหนั้นเงียบสงบ และมีลานกว้างริมแม่น้ำที่จะมานั่งพักจิตใจได้ ส่วนภายในโบสถ์ซึ่งสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวนั้น มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งเขียนโดยพระภิกษุชาวสงขลา เป็นพุทธประวัติที่สอดแทรกภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในสมัยนั้นไว้เด่น ชัดและน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง และเป็นที่ประดิษฐานพระประธานปิดทองทั้งองค์ทำให้ไม่เห็นลักษณะเดิมที่พระ โอษฐ์เป็นสีแดง พระเกศาเป็นสีดำ ประดิษฐานอยู่บนบุษบกทรงสอบสูงประมาณ 1.5 เมตร จากลักษณะบุษบกสันนิษฐานว่าเป็นพระมอญ มีวิหารประดิษฐานพระนอน ซึ่งตามผนังประดับด้วยเครื่องถ้วยสังคโลกเก่าแก่
การเดินทาง สามารถนั่งรถโดยสารประจำทางเส้นที่จะไปอำเภอตากใบ มีทั้งรถสองแถว(ค่าโดยสารประมาณ 20 บาท) รถตู้(ค่าโดยสารประมาณ 30 บาท ขึ้นที่วงเวียนในอำเภอเมือง) และรถบัส ลงที่แยกอำเภอตากใบ และเดินไปอีกประมาณ 500 เมตร แต่รถตู้จะเข้าไปส่งถึงวัด
หมู่บ้านทอน

ตั้ง อยู่ที่ตำบลโคกเตียน ห่างจากตัวเมืองตามเส้นทางนราธิวาส-บ้านทอน (ทางหลวง 4136) ประมาณ 16 กิโลเมตร เป็นหมู่บ้านชาวประมงไทยมุสลิม เป็นแหล่งผลิตเรือกอและทั้งของจริงและจำลอง เรือกอและจำลองมีราคาตั้งแต่หลักร้อยไปถึงหลักหมื่น แต่คุณค่าไม่ได้อยู่แค่นั้น เพราะคนที่ทำนั้นบางคนเป็นเด็กมีตั้งแต่อายุ 13 ปีขึ้นไป เด็กบางคนในหมู่บ้านจะใช้เวลาว่างมานั่งหัดทำเรือกอและ ศิลปะพื้นบ้านของพวกเขาเอง นอกจากเรือท่านอาจจะได้ความอิ่มใจกลับไปด้วยหากได้เห็นความสนอกสนใจของพวก เขาที่มีต่องานศิลปะเช่นนี้

นอกจากนั้นยังมีผลิตภัณฑ์จากกระจูดและใบปาหนัน เช่นซองใส่แว่น กระเป๋า ไปจนถึงเสื่อที่มีลวดลายและสีสันสวยงามลงตัว หากรักษาดีๆ จะมีอายุการใช้งานถึง 10 ปี ระดับราคาของผลิตภัณฑ์ต่างๆไม่แพงนักตั้งแต่ 30 บาท ไปจนถึงหลักร้อย และที่นี่ยังเป็นแหล่งผลิตน้ำบูดู และข้าวเกรียบปลาที่ขึ้นชื่อของจังหวัดนราธิวาสอีกด้วย ตลอดแนวหาดจะเห็นแผงตากปลาเรียงรายอยู่ มีตุ่มซีเมนต์ใส่บูดูจำนวนมาก นักท่องเที่ยวสามารถแวะมาชมวิธีการผลิตและซื้อของฝากได้ทุกวันแต่ปกติในบ่าย วันศุกร์ชาวบ้านมักจะไปทำละหมาดและพักผ่อน ซึ่งไม่สะดวกนักหากจะแวะมาเวลานี้
เรือกอและ เป็นเรือประมงชายฝั่งขนาดเล็ก ที่ใช้ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ตอนล่าง ลักษณะเป็นเรือลำใหญ่ มีความยาว 25, 22 และ 20 ศอก ลักษณะการสร้างเรือจะทำให้ส่วนหัวและท้ายเรือสูงขึ้นจากลำเรืออันเป็น เอกลักษณ์มาช้านาน ลวดลายบนลำเรือกอและเป็นการผสมผสานระหว่างลายมลายู ลายชวาและลายไทยโดยมีสัดส่วนของลายไทยอยู่มากที่สุดเช่น ลายกนก ลายบัวคว่ำบัวหงาย ลายหัวพญานาค หนุมานเหิรเวหา รวมทั้งลายหัวนกในวรรณคดี เช่น “บุหรงซีงอ” หรือ สิงหปักษี (ตัวเป็นสิงห์ หรือราชสีห์ หัวเป็นนกคาบปลาไว้ที่หัวเรือ) เชื่อกันว่ามีเขี้ยวเล็บและมีฤทธิ์เดชมาก ดำน้ำเก่ง จึงเป็นที่นิยมของชาวเรือกอและมาแต่บุร่ำบุราณ งานศิลปะบนลำเรือเสมือน “วิจิตรศิลป์บนพลิ้วคลื่น” และเป็นศิลปะเพื่อชีวิตเพราะเรือกอและมิได้อวดความอลังการของลวดลายเพียง อย่างเดียว ทว่ายังเป็นเครื่องมือในการจับปลาเลี้ยงชีพชาวประมงด้วย กล่าวกันว่าลูกแม่น้ำบางนราไม่มีเรือกอและหาปลาก็เหมือนไม่ใส่เสื้อผ้า

วนอุทยานอ่าวมะนาว

 

ตั้ง อยู่หมู่ที่ 1 ตำบลกะลุวอเหนือ ตามทางหลวงหมายเลข 4084 (นราธิวาส-ตากใบ) ประมาณ 3 กิโลเมตร และมีทางแยกไปสู่หาดอีก 3 กิโลเมตร เป็นชายหาดที่ยาวต่อเนื่องจากชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจังหวัดปัตตานี เป็นโค้งอ่าวเชื่อมต่อกัน ยาวประมาณ 4 กิโลเมตร มีโขดหินคั่นสลับโค้งหาดเป็นระยะ ด้านหนึ่งติดพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ บริเวณริมหาดมีสวนรุกขชาติ และทิวสนร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายหาด (beach forest) ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร พันธุ์ไม้ที่พบจะเป็นไม้ที่ชอบความแห้งแล้ง เช่น จักทะเล มะนาวผี เตยทะเล (ผลมีหน้าตาคล้ายสับปะรด) เป็นต้น หากใครอยากพักค้างคืนมีบ้านพักของเอกชนในบริเวณใกล้เคียงให้บริการ

น้ำตกฉัตรวาริน

อยู่ ที่ตำบลโต๊ะเด็ง ไม่ไกลจากตัวเมือง ไปตามทางหลวงหมายเลข 4056 ถึงโรงพยาบาลสุไหงปาดีแล้วเลี้ยวซ้ายไปตามถนนอีก 6 กิโลเมตร ทางเข้าลาดยางตลอด อยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติบูโด-สุไหงปาดี เป็นน้ำตกขนาดกลาง มีน้ำตลอดทั้งปี สภาพแวดล้อมร่มรื่นด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด

พันธุ์ไม้เด่นของที่นี่คือ ปาล์มบังสูรย์ ซึ่งเป็นไม้หายากพบในบริเวณป่าลึกที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,800 เมตร มีถิ่นกำเนิดในประเทศมาเลเซีย ลักษณะเป็นไม้ลำต้นเตี้ยๆ แต่แตกก้านออกเป็นกอใหญ่ สูงท่วมหัว สามารถสูงได้ถึง 3 เมตร ใบแผ่กว้างทรงสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด มีเส้นใบเรียงกันเป็นระเบียบสวยงาม ได้รับการยกย่องจากทั่วโลกว่าเป็นปาล์มที่สวยงามที่สุด ซึ่งจะพบในป่าแถบนี้เท่านั้น ชื่อ “ปาล์มบังสูรย์” ตั้งโดยศาสตราจารย์ประชิด วามานนท์ ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์ เมื่อครั้งท่านเดินทางมาสำรวจพื้นที่แถบนี้ ได้พบปาล์มชนิดนี้ปลูกอยู่ในหมู่บ้านมุสลิม ศาสตราจารย์ประชิดเห็นว่าใบของปาล์มชนิดนี้มีลักษณะคล้าย “บังสูรย์” เครื่องสูงที่ใช้บังแดดในพิธีแห่จึงนำมาตั้งเป็นชื่อปาล์มดังกล่าว ส่วนภาษาท้องถิ่นเรียกว่า บูเก๊ะอีแป แปลว่าตะขาบภูเขา น่าจะมาจากส่วนช่อดอกที่คล้ายตัวตะขาบ

หมู่บ้านยะกัง

 

เป็นชุมชนเก่าแก่ตั้งแต่ครั้งนราธิวาสยังเป็นหมู่บ้านบางนรา ปัจจุบันเป็นแหล่งผลิตผ้าปาเต๊ะ หรือผ้าบาติก ที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัด อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดไปตามทางหลวงสาย 4055 (อำเภอเมือง-อำเภอระแงะ) ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร เลี้ยวเข้าถนนยะกัง 1 ซอย 6 ประมาณ 700 เมตร

สวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษา มหาราชินี จังหวัดนราธิวาส

ตั้งอยู่บริเวณที่ดินสาธารณประโยชน์ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ หมู่ที่ 3 ต.สุไหงปาดี อ.สุไหงปาดี มีพื้นที่ทั้งหมด 100 ไร่เป็นสวนที่ทำการสำรวจเก็บรวบรวมพันธุ์ไม้ป่ามาปลูกเป็นหมวดหมู่ตามวงศ์ (Family)ตามสกุล(Genus)โดยคำนึงถึงความเหมาะสมทางนิเวศวิทยาเป็นหลัก
ปัจจุบันมีพันธุ์ไม้มากกว่า 700 ชนิด หลายชนิดเป็นไม้ที่มีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นพืชเศรษฐกิจ บางชนิดเป็นพืชสมุนไพร บางชนิดเป็นไม้ที่หาดูยากและบางชนิดเป็นไม้ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ ดังนั้น สวนฯ จึงเป็นศูนย์รวมของพันธุ์ไม้ป่าภาคใต้ที่น่าสนใจ เหมาะแก่การศึกษาหาความรู้ และพักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนั้น ยังสามารถหาความเพลิดเพลินจากกิจกรรมวาดรูป ถ่ายภาพพันธุ์ไม้หรือสนุกตื่นเต้นกับการสาธิตการปีนเก็บตัวอย่างพันธุ์ไม้ ได้อีกด้วย การเที่ยวชมสวนฯสามารถเที่ยวได้ตลอดปี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหาร จัดการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 21 สำนักงานป่าไม้เขตปัตตานี อ.เมือง จ.ปัตตานี 94000 โทร.0 7333 6290-3 ต่อ 4128, 4129
การเดินทาง จากตัวเมืองนราธิวาส ใช้ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 4056 ไปยัง อ.สุไหงปาดี ระยะทางประมาณ 40 กิโลเมตร ถึงทางแยกบ้านเจาะวาเลี้ยวซ้ายระยะทาง 8 กิโลเมตร

ด่านสุไหงโกลก

ตัวเมืองสุไหงโกลก ดูจะคึกคักกว่าตัวเมืองนราธิวาส คงเพราะเป็นด่านการค้าชายแดนที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัด และยังเดินทางข้ามไปมาได้สะดวกทั้งคนไทยและคนมาเลย์ มีการสร้างสะพานเชื่อมระหว่างประเทศ เปิดตั้งแต่ 05.00–21.00 น. ชาวไทยมักข้ามไปยังฝั่งรันตูปันยังเพื่อซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า ของกินเล่น ส่วนคนมาเลย์จะข้ามมาซื้ออาหาร และผลไม้

ด่านสุไหงโกลก อยู่ห่างจากสถานีรถไฟสุไหงโกลก ประมาณ 1 กิโลเมตร การเดินทางจากตัวเมืองนราธิวาสสามารถเดินทางไปยังอำเภอสุไหงโกลกได้ 2 เส้นทาง คือ จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 4055 (นราธิวาส-ระแงะ) แล้วแยกซ้ายที่บ้านมะนังตายอ ไปตามเส้นทางหมายเลข 4056 ผ่านอำเภอสุไหงปาดี เข้าสู่อำเภอสุไหงโกลก หรืออาจใช้ทางหลวงหมายเลข 4084 จากตัวเมืองนราธิวาสไปยังอำเภอตากใบ แล้วเลี้ยวขวาเข้าสู่เส้นทางหมายเลข 4057 (ตากใบ-สุไหงโกลก) เป็นระยะทาง 66 กิโลเมตร

จากด่านสุไหงโกลก สามารถขับรถข้ามสะพานเข้าไปเที่ยวเมืองโกตา บาห์รูของมาเลเซียได้ แต่รถที่จะเข้าไปต้องทำประกันรถยนต์ (รายละเอียดดูที่ด่านตาบา) การขอใบผ่านแดนสอบถาม โทร. 0 7361 4296

ศาลเจ้าแม่โต๊ะโม

ตั้งอยู่ที่ซอยภูธร ถนนเจริญเขต ในเขตเทศบาลตำบลสุไหงโกลก เดิมทีเจ้าแม่โต๊ะโมะนี้ประดิษฐานอยู่ที่บ้านโต๊ะโมะ อำเภอสุคิริน ต่อมาชาวบ้านได้อัญเชิญมาประดิษฐานที่อำเภอสุไหงโกลก เป็นที่นับถือของชาวสุไหงโกลก และชาวจังหวัดใกล้เคียง รวมทั้งชาวจีนในประเทศมาเลเซียเป็นอย่างมากทุกๆ ปี จะมีการจัดงานประเพณีประจำปีที่บริเวณศาลเจ้า ตรงกับวันที่ 23 เดือนสามของจีน (ประมาณเดือนเมษายน) ในงานจะมีกิจกรรมมากมาย เช่น มีการจัดขบวนแห่เจ้าแม่ ขบวนสิงโต ขบวนเองกอ ขบวนกลองยาว และยังมีการลุยไฟด้วย

น้ำตกสิรินธร

 

ลักษณะโดยทั่วไปไม่ใช่น้ำที่ตกมาจากผาสูง หากแต่เป็นลักษณะธารที่ค่อยๆลาดไหลมาจากแนวป่าสูง มีแอ่งน้ำลานหิน นั่งพักผ่อนได้ ธารน้ำตกจะไหลไปรวมที่คลองอัยกาดิง มักจะมีคนท้องถิ่นเข้ามาเที่ยว สิ่งที่ควรชมนอกเหนือจากน้ำตก ก็คือ โครงการสำรวจและรวบรวมพันธุ์ไม้ดอก ไม้ประดับป่าภาคใต้ ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีการรวบรวมไว้กว่า 200 ชนิด โดยจัดปลูกพรรณไม้ต่างๆ ไว้เป็นหมวดหมู่ ตามสภาพธรรมชาติ และมีป้ายบอกชื่อ รวมทั้งประโยชน์ใช้สอยติดไว้ให้ศึกษา มีความน่าสนใจทั้งในแง่พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน และการนำมาเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ เพื่อพัฒนาเป็นไม้ประดับและพืชเศรษฐกิจ ผู้สนใจเข้าชมได้ระหว่างเวลา 8.30–16.00 น.

หลวงพ่อแดงวัดเชิงเขา

ตั้งอยู่ที่หมู่ 4 บ้านเชิงเขา ตำบลปะลุกาสาเมาะ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอไปทางจังหวัดปัตตานีประมาณ 13 กิโลเมตร มีทางแยกจากถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 42) เลี้ยวซ้ายที่บ้านต้นไทระยะทาง 5.5 กิโลเมตร หลวงพ่อแดง อดีตเจ้าอาวาสและเกจิอาจารย์ชื่อดังของจังหวัดนราธิวาส มรณะภาพเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2522 รวมอายุได้ 90 ปี ภายหลังจากที่ท่านได้มรณะภาพไปแล้ว ศพของท่านยังไม่เน่าเปื่อย ประชาชนจึงได้เกิดความศรัทธาและนำศพของท่านไปบรรจุไว้ในโลงแก้ว เพื่อให้เป็นที่สักการะบูชาของชาวบ้านและพุทธศาสนิกชนทั่วไป

ด่านตาบา (ด่านตากใบ)

 

ตั้งอยู่ที่บ้านตาบา ตำบลเจ๊ะเห อยู่ห่างจากตัวอำเภอตากใบราว 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางหมายเลข 4084 (อำเภอเมือง-อำเภอตากใบ) เป็นช่องทางการท่องเที่ยวและค้าขายระหว่างประเทศไทย-มาเลเซีย อีกแห่งหนึ่งนอกจากด่านสุไหงโกลก

ผู้ที่จะข้ามไปซื้อของที่ร้านค้าปลอดภาษี ด่านศุลกากรเพนกาลันกูโป ของประเทศมาเลเซีย สามารถข้ามไปได้เลยแบบเช้าไป-เย็นกลับ แต่หากจะข้ามไปนานกว่านั้น สามารถขอใบผ่านแดน แบบ 3 เดือน เข้า-ออกครั้งเดียวได้ โดยต้องเตรียมคำร้องจากสำนักงานอำเภอที่ตัวเองมีชื่อในทะเบียนบ้านไปยื่นที่ สำนักอำเภอตากใบ สอบถาม โทร. 0 7358 1619

การข้ามฟากสามารถข้ามไปโดยเรือหางยาว หรือแพขนานยนต์ก็ได้ (จะอยู่กันคนละท่า) ออกทุก 15 นาที วิ่งระหว่างเวลา 6.30–17.15 น. ค่าโดยสารคนละ 6 บาท เท่ากันทุกท่า จักรยานยนต์ 15 บาท รถ 4 ล้อ 50 บาท รถบัส 100 บาท การนำรถยนต์เข้าไปถ้าจะไปไกลกว่าด่านศุลกากรจะต้องทำประกันรถยนต์สำหรับวิ่ง ในประเทศมาเลเซียก่อน และมีข้อกำหนดว่าต้องเป็นรถที่ติดฟิล์มไม่เกิน 40 เปอร์เซ็นต์ และมีเข็มขัดนิรภัย เพราะฝั่งมาเลเซียเข้มงวดเรื่องความปลอดภัยรถยนต์ มีบริษัทรับทำประกันรถยนต์ทั้งฝั่งไทยและฝั่งมาเลย์ ที่ฝั่งไทยทำได้สะดวกเพราะมีหลายบริษัท ค่าประกันประมาณ 600–700 บาท ระยะเวลาประกัน มีหลายแบบตั้งแต่ 9 วัน – 1 ปี
ชายหาดกูบู-บ้านคลองตัน

ครอบคลุมตำบลไทรวัน และตำบลศาลาใหม่ ทอดยาวไปจนถึงตำบลเจ๊ะเห มาสุดที่ปากแม่น้ำสุไหงโกลกชายแดนไทย ความยาวโดยประมาณ 25 กิโลเมตร การเดินทางใช้เส้นทางหมายเลข 4084 (นราธิวาส-ตากใบ) ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร จะมีถนนถึงชายหาดระยะทาง 1 กิโลเมตร เป็นชายหาดที่มีทิวทัศน์สวยงาม หาดทรายขาวสะอาด มีต้นสนขึ้นเป็นระยะๆ ร่มรื่นและเงียบสงบ

พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์<br />

ตั้งอยู่บนเขาตันหยงมัส ตำบลกะลุวอเหนือ ด้านริมทะเลใกล้กับอ่าวมะนาว ห่างจากตัวจังหวัดนราธิวาสตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4084 (นราธิวาส-ตากใบ) เป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 300 ไร่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9)โปรดเกล้าฯให้ก่อสร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2516 ภายในเขตพระราชฐานประกอบด้วย พระตำหนักของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ และของพระบรมวงศานุวงศ์ ตกแต่งด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิดทำให้มีบรรยากาศร่มรื่น ยังมีศูนย์ศิลปาชีพ ซึ่งเป็นแหล่งฝึกงานเครื่องปั้นดินเผาและเซรามิก รวมทั้งจำหน่ายด้วย

พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมได้ทุกวันระหว่าง เวลา 8.30–16.30 น. เว้นเฉพาะช่วงที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินแปรพระราชฐานมาประทับแรมเท่า นั้น ซึ่งปกติจะเป็นช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม

การเดินทาง สามารถนั่งรถโดยสารประจำทางเส้นที่ไปอำเภอตากใบ และลงที่หน้าพระตำหนักได้เลย

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

จัดตั้งขึ้นเพื่อสนองพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่จะเป็นแหล่งรวมการศึกษา สาขาวิชาต่างๆ ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาที่ดินทำกินแก่ราษฎรในพื้นที่แบบเบ็ดเสร็จ คือ วิเคราะห์ ทดลอง ทดสอบการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ให้ข้อมูลวิชาการ และฝึกอบรมการเกษตร เนื้อที่ศูนย์ทั้งหมด 1,740 ไร่ ถูกแบ่งเป็น อาคารสำนักงาน แปลงสาธิต และแปลงวิจัยทดลองในพื้นที่ป่าพรุ

โครงการในพระราชดำริ เช่น โครงการแกล้งดิน คือการทดลองทำให้ดินในนาข้าวเปรี้ยวที่สุด และหาวิธีแก้ไข เพื่อที่จะนำไปปรับใช้กับดินเปรี้ยวในพื้นที่ต่างๆ ได้ทุกที่ โครงการอื่นๆของศูนย์ เช่น โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ที่นำมาปรับใช้ให้เข้ากับสภาพพื้นที่นี้ซึ่งมีน้ำมาก พออยู่แล้ว การทดลองปลูกปาล์มน้ำมันที่ขึ้นในดินอินทรีย์จัด โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กครบวงจร ร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ที่เข้ามาดูแลผลิตภัณฑ์จากปาล์มน้ำมัน เช่น น้ำมันที่สกัดได้จากปาล์ม สบู่ เนย ส่วนหนึ่งขายให้คนงาน และส่วนหนึ่งจำหน่ายภายนอก โรงงานปศุสัตว์ทำบ่อก๊าซชีวภาพจากมูลวัว การทดลองนำระกำหวานมาปลูกเป็นพืชแซมในสวนยางพารา เป็นต้น

ไม่ใช่เฉพาะงานทางด้านเกษตรกรรมเพียงอย่างเดียวทางศูนย์ยังเปิดศูนย์ฝึกอบรมงานหัตถกรรมจากกระจูดและใบปาหนันในวันเวลาราชการ

การมาศึกษาหาความรู้ที่นี่ยังได้ความเพลิดเพลินไปด้วยดังพระราชดำริที่จะ ให้การมาดูงานที่นี่เหมือนการมาพักผ่อนหย่อนใจในสวนสาธารณะ ทั้งนี้มีนิทรรศการของศูนย์ฯจัดทุกเดือนกันยายน ซึ่งตรงกับเทศกาลของดีเมืองนราพอดี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 7363 1033, 0 7363 1038, 0 7354 2062-3 หรือ www.pikunthong.com

การเดินทาง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ตั้งอยู่ระหว่างบ้านพิกุลทองและบ้านโคกสยา ตำบลกะลุวอเหนือ ห่างจากพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ ประมาณ 1 กิโลเมตร และห่างจากตัวเมืองนราธิวาสตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4084 นราธิวาส-ตากใบ ระยะทาง 8 กิโลเมตร

มัสยิดกลาง (เก่า)

 

มัสยิดกลางหลังเก่านี้ มีชื่อว่า มัสยิดยุมอียะห์ หรือมัสยิดรายอ ตั้งอยู่ทางเหนือของตัวเมืองห่างจากศาลากลางจังหวัดขึ้นไปตามถนนพิชิตบำรุง ก่อนถึงหอนาฬิกาเล็กน้อย เป็นมัสยิดไม้แบบสุมาตราสร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2481 เป็นมัสยิดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองนราธิวาส และเป็นที่ตั้งของสุสานเจ้าเมืองเก่า คือ พระยาภูผาภักดี ตามปกติมัสยิดกลางประจำจังหวัดจะมีเพียงแห่งเดียวเท่านั้น แต่เนื่องจากมัสยิดแห่งนี้ค่อนข้างคับแคบ จึงได้มีการสร้างมัสยิดหลังใหม่ขึ้นบริเวณปากแม่น้ำบางนรา อย่างไรก็ตามประชาชนในพื้นที่ยังคงเลื่อมใสศรัทธาในมัสยิดหลังเก่าอยู่ มัสยิดแห่งนี้จึงดำรงฐานะเป็นมัสยิดกลางสืบต่อไป และทำให้นราธิวาสมีมัสยิดกลางประจำจังหวัดด้วยกันถึง 2 แห่ง
มัสยิดกลาง (ใหม่)

ตั้งอยู่ที่บ้านบางนรา ก่อนถึงหาดนราทัศน์ เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจของชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลาม มัสยิดกลางนราธิวาสนี้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2524 เป็นมัสยิดกลางประจำจังหวัดแห่งที่ 2 สร้างเป็นอาคาร 3 ชั้น แบบอาหรับ ชั้นล่างจะเป็นห้องประชุมใหญ่ ห้องทำละหมาดอยู่ 2 ชั้นบน ยอดเป็นโดมขนาดใหญ่ มีหอสูงสำหรับส่งสัญญาณอาซานเรียกชาวมุสลิมเข้ามาละหมาด

ค่ายจุฬาภรณ์

ตั้งอยู่ที่บ้านทอน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมือง ห่างจากท่าอากาศยานนราธิวาส 1.5 กิโลเมตร ภายในมีสนามกอล์ฟขนาด 9 หลุม สนามยิงปืน ศาลและพระรูปกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ นอกจากนี้ภายในค่ายยังมีชายหาดสะอาด สวยงาม ซึ่งสามารถเล่นน้ำทะเลได้

 
 

Destination Guides Car & Fleet Guide Car Rental Locations