www.AvisThailand.com
โทร. 662-2511131-2
662-2555300-4
668-1-3785697
หน้าหลัก เกี่ยวกับราคา รู้จัก Avis ติดต่อ ลิงค์
ข้อเสนอล่าสุด บริการจองรถเช่า คู่มือเช่ารถ บริการ Avis เช่ารถระยะยาว รถเช่าพร้อมคนขับ บริษัททัวร์ Avis used Car
กรุงเทพฯ ชะอำ หัวหิน เชียงใหม่ เชียงราย หาดใหญ่ ขอนแก่น กระบี่ นครศรีธรรมราช
พัทยา พิษณุโลก ภูเก็ต สมุย สุราษฎร์ธานี ตรัง อุดรธานี  อุบลราชธานี  

SUPHANBURI

SUPHANBURI : General Information


      Just a hundred kilometres away from Bangkok, Suphan Buri is an ancient town rich in natural and historical heritage.
avis thailand


    The province was once an important border town involving battles and important wars during the period of the Ayutthaya kingdom. So, today, travelling around the province is like drifting through historical novels. Historical evidence leads you to travel to the past such as Don Chedi Monument, Wat Khao Khuen whose abbot played a significant role in Thai history, U Thong National Museum, etc. Furthermore, various natural wonders such as Phu Toei National Park, Bueng Chawak Aquarium, as well as the famous local-style cake Sali Suphan always impress visitors.

Suphan Buri occupies a total area of 5,358 square kilometres and is administratively divided into 10 districts (Amphoes); Muang Suphan Buri, Doem Bang Nang Buat, Bang Pla Ma, Si Prachan, Song Phi Nong, Sam Chuk, U Thong, Don Chedi, Dan Chang and Nong Ya Sai.

SUPHANBURI : How to get there

Distances from Amphoe Muang to Other Districts :

Bang Pla Ma
Si Prachan
Don Chedi
U Thong
Sam Chuk
Doem Bang Nang Buat
Nong Ya Sai
Song Phi Nong
Dan Chang
10
20
31
32
39
54
58
70
77
kilometres
kilometres
kilometres
kilometres
kilometres
kilometres
kilometres
kilometres
kilometres

Car

There are many routes for travelling from Bangkok to Suphan Buri:

Bangkok-Bang Bua Thong-Suphan Buri, a distance of 107 kilometres.
Bangkok-Pathum Thani-Lat Lum Kaeo-Suphan Buri, a distances of 115 kilometres
Bangkok-Ayutthaya-Suphan Buri, a distance of 132 kilometres
Bangkok-Nakhon Pathom-Kamphaeng Saen-Suphan Buri, a distance of 164 kilometres

Bus

Both air-conditioned and non air-conditioned buses departs from Bangkok’s Southern Bus Terminal (Tel: 0 2435 1199-200) and Mochit 2 Bus Terminal (Tel: 0 2936 2852-66) to Suphan Buri many times daily.

Train

A train leaves Bangkok Station daily for Suphan Buri at 4.40 pm. and reaches the province at 7.40 pm. On the return trip, the train leaves at 4.50 am. and reaches Bangkok at 8.10 am. For more details, call 1690, 0 2220 4334 or visit the website www.railway.co.th

SUPHANBURI : Festival & Event

Suphan Buri Songkran Festival
Date : 12 -14 April, 2009
Venue : Nen Kaeo Road, Amphoe Mueang, Suphan Buri

Offering alms to monks, pour some Thai scented water on a Buddha image, as well as on elders. Feast your eyes on various forms of entertainment and fill your stomach with delicious food.

For more information
TAT Call Center 1672
TAT Suphan Buri. Tel : +66 (0) 3553 6030
www.songkran.net


SUPHANBURI : Activities

Krasiao Dam

With a length of 4.25 kilometres and height of 32.5 metres, this country’s longest earthen dam is built on Krasiao Stream in Tambon Dan Chang. Its reservoir, with a maximum water storage of 240 million cubic metres, is also a major fish-breeding site. From the dam, tourists can enjoy a picturesque view of the vast reservoir stretching to Khao Phu Toei. Papaya Salad or Somtam and roasted chicken shops are available nearby the parking lot. For more information, call Krasiao Dam Office at Tel. 0 3559 5120.

Industrial Promotion Centre Region 8

Only a kilometre away from Wat Pa Lelai, on Malai Maen Road opposite Suphan Buri Water park, tourists can enjoy selecting nice home-made handicrafts and souvenir items at reasonable prices such as leather products, costumes and rattan works. The centre opens on weekdays from 10.00 a.m.-3.00 p.m. Contact Tel. 0 3554 5518 - 9 for more information.

Banharn - Jamsai Tower

Located in the downtown area on Nang Phim Road, this country's first and highest view point tower overlooking Chaloem Phatthara Rachini Park allows tourists to enjoy a bird's eye view over the province at a height of 123.25 metres. The tower has four view point decks, including ticketing and souvenirs, snack bar and park view souvenir and downtown viewpoint decks, and the fourth panoramic viewpoint deck is at a height of 78.75 metres. Telescopes are available on the decks. The interior is decorated with murals featuring King Naresuan the Great.

Bueng Chawak

Bueng Chawak was originally a part of Tha Chin River. After a period of times, a part or the river branched off to form a crescent shaped lake tht took up some areas of Doem Bang Nang Buat district, Suphan Buri province, and Hankha district, Chai Nat province. In 1994, the Suphan Buri Provincial Authority and H.E.Mr.Banharn Silpa-archa, the Prime Minister, and various sectors, public and private. Initiated the Bueng Chawak Chalerm Phra Kiet Development Project to celebrate His Majesty the King Bhumibol Adulyadej's on his 50th Year Accession to the Throne.

The lake was excavated to dam up 10 million cubic meters of freshwater to irrigate 6,500 rais (10,400,000 sq m.) of agricultural land. The surrounding areas were developed into other projects such as the Wildlife Extension Center (Department of Livestock Development), a garden of indigenous vegetables, and an exhibition center for aquatic animals.

Wildlife Extension Center Bung Chawak

Tourist Information Center Service : The center offers information on breeding and caring many kinds of wildlife, as well as bird watching. In the large aviary connected to the building, many kinds of birds are housed for visitors to observe and study them. In addition, a video room is provided to display films and slides on wildlife plus narration about the origin of the center.

Aviary : This 5 rai (8,000 sq m.). 25-meter high aviary houses a menagerie of birds. The interior of the aviary is made to provide a living condition that closely resembles their authentic natural surroundings. There are 45 species of birds and pheasants that include Green Pea fowls, Grey Peacock Pheasants. Red Jungle fowls, Silver Pheasants, Siamese Firebacks, Crested Firebacks, Alexandrine Parakeets, Cockatoos, Spot-billed Ducks, Sarus Cranes, Painted Storks, and Asian Openbills.

Rare Animals Breeding Enclosures :

1. Tigers and Lions zones are located next to each other, Inside, the large banister is arranged with caves and high rocky hills to resemble their natural surroundings, Other species nearby panthers, clouded leopards, and leopard cats.
2. The wading birds aviary was constructed to house many types of wading bird for study purposes, as well as for bird watching including Sarus Cranes, Pelicans, Coot, and White-winged Ducks.
3. Pheasants and rare birds zone house rare and near extinct pheasants and birds such as Green Peafowls, Silver Pheasants, Siamese Firebacks, and Hornbills.
4. Other rare animals located nearby are ostriches, camels, and zebras.

The Wildlife Extension Center
Tel : 0 3543-9206 / 0 3543-9210
Fax : 0 3543-9210

The Garden for Indigenous Vegetables : The Garden was established by the Department of Agricultural Promotion under the umbrella of Ministry of Agriculture aiming to educate people about the importance of indigenous vegetables and their significant values to Thailand. Many types of vegetables were collected from all parts of Thailand, so the Thai public could study the process of planting, propagation, consumption, and their nutritious value.

The garden is located on a beautiful landscape. Numerous items on indigenous vegetables are available at the kiosk and library. They hydroponics (planting without soil) agriculture of more than 500 types of vegetables is demonstrated at the Garden. Seeds of many cultivars are also available for sale.

The Garden of Indigenous Vegetables : 102 M.9 Doem Bang, Doem Bang Nang Buat District, Suphan Buri 72120 Tel : 0 1948 9214, 0 9836 1358 Fax : 0 3543 9523

The Garden runs tours 4 times a day :
Morning from 10.30 a.m. and 11.30 a.m.
Afternoon from 2.30 p.m. and 3.30 p.m.
General visit is everyday from : 8.30 a.m.- 6.00 p.m.

The Exhibition Center for Aquatic Animals (Department of Fisheries) was constructed under the Bueng Chawak Royal Development Project to celebrate His Majesty the King's 50 Year Accession to the Throne. The construction was commenced on 19 July 1996, and opened to public in February 1998. The aim of this construction is to provide a state of the art center for behavioral study of Important aquatic animals for academics, students, as well as the general public. The attractions of the center as follow :

1. Aquatic Animals Exhibition Building 1 was built to host and exhibit numerous interesting aquatic animals. In this section, there are more than 50 species aquatic animals, both native and foreign, as well as exotic fishes. Some of the species on display are the Mekong Giant Catfish, Siamese Tiger fish. Many interesting rare fishes from other parts of the world such as the Amazon Tiger Shovelnose Catfish, and Amazon Red-tailed Catfish are also shown for visitors to acquire first-hand knowledge on the ecological system. In addition to the aquatic species mentioned above, marine creatures like Schooling Bannerfish, Blue-spotted Ray, Niger Triggerfish, Nurse sharks, and Thorny Sea Horses are also on display.

2. Aquatic Animals Exhibition Building 2 was constructed subsequently when the original building became too small since it could only keep 50 aquatic species, which left no room for expansion, H.E.Mr.Banharn Silpa-archa, thus commissioned the construction of Building 2 to be located nearby. Inside the Building, there is a large 400 cubic meter circular aquarium that all visitors can walk around and observe the fishes from all directions. There is an 8.5 meter walk through tunnel, the first of its kind in Thailand, where all visitors can view a numerous aquariums, 30 containers of show-cased freshwater fishes and 7 tanks of beautiful seawater fishes are also displayed in the building.

3. Crocodile Pool was built to provide a natural surrounding and living quarters for these large prehistoric reptiles. The 3 rai (4,800 sq m.) of land comprises a large pool and a dry area with planted trees to provide a home for 80 Siamese Crocodiles with sizes ranging from 1.5 to 4 meters in length.

The Exhibition Center for Aquatic Animals is opened everyday.
Fees are 30 baht for adults and 10 baht for children.

Opening hours are :
Monday-Friday 10.00 a.m.-05.00 p.m.
Saturday-Sunday 09.00 a.m.-06.00 p.m.

Buffalo Village

The theme village is located at kilometre 115-116 of Highway 340. Occupying over a 100-rai (40-acre) plot of land, the Buffalo Villages feature the rural lifestyle in the central region such as Thai farmer villages, rice-threshing ground water, buffalo ranch, traditional Thai houses on stilts. Visitors can enjoy exploring various corners, which feature different local wisdom such as Thai medical knowledge, traditional Thai massage, local herbs, and Thai astrology. Visitors can enjoy 30- minute buffalo shows at 11.00 a.m. and 4.30 p.m.

The Buffalo Villages open from 9.00 a.m.-6.00 p.m. on weekday and 9.30 a.m.-6.30 p.m. on weekends. Admission is 300 baht each. For more information, contact Bangkok office at Tel. 0 2619 6326 to 9 or Suphan Buri office at Tel. 0 3558 1668, or visit the websitewww.buffalovillages.com

Wat Phra Non

Located in Tambon Phihan Daeng, on the bank of Tha Chin River north of Wat No Phutthangkun, the temple built in the Rattanakosin period, is famed for its large fish sanctuary that occupies some part of the river as well as beautiful shady park which is the main recreational area of the province.
The image hall or Wihan of Wat Phra Non houses a special reclining Buddha image carved from granite about 2 metres long. While most reclining Buddha images lie on one side, the Buddha image here lies supine.

Don Chedi Monument

The monument is located in Tambon Don Chedi, on Highway 322, 31 kilometres from downtown. The royal monument of King Naresuan the Great and the pagoda were built to commemorate the victory over the Burmese troops. In January 1592, he defeated Phra Maha Upparacha, the Burmese Crown Prince in a royal duel on elephant back; as a result, the Siamese kingdom regained its sovereignty from the occupation of Burma.

The Royal Thai Army renovated the pagoda in 1952, and built a new pagoda over the ancient one. The new pagoda is 66 metres high and 36 metres wide. His Majesty the King presided over the worshipping and opening ceremony on 25 January 1959. Thus, it has become the Royal Thai Army Day since then. A large celebration is held annually around the monument.

About 100 metres from the monument, people also flock to worship the statues of King Naresuan the Great and his elder sister Phra Suphankanlaya in a shrine in the compound.

Tham Weruwan

The cave is in the compound of Wat Wang Khan, 14 kilometres away from Amphoe Dan Chang, and one kilometre from the entrance of Phu Toei National Park. Concrete stairs of 61 steps allow visitors to access the cave entrance easily. With electric lighting, tourists can enjoy exploring the cave and witness the beautiful formation of stalactites and stalagmites. The cave houses a Buddha image in the Pa Lelai posture. In the temple compound, district official have set up a bamboo garden in honour of Their Majesties where over 10 bamboo species are grown.

Phu Toei National Park

The park acquires a total area of 198,422 rai (79,368.8 acres), covering Ong Phra Forest, Khao Phu Rakam Forest, and Khao Huai Phlu Forest of Amphoe Dan Chang, Suphan Buri Province

Phu Toei National Park The park acquires a total area of 198,422 rai (79,368.8 acres), covering Ong Phra Forest, Khao Phu Rakam Forest, and Khao Huai Phlu Forest of Amphoe Dan Chang, Suphan Buri Province as well as Tham Khao Wong Forest Park of Amphoe Ban Rai, Uthai Thani Province. The lush forest with a lot of flora and fauna is a major watershed of Suphan Buri and Kanchanaburi. The mountain range of Phu Toei is home of thousands of mountain pines and also the best viewing point. Attractions in the park can be divided into two groups, according to its units as follows:

Unit 1 (Phu Toei) The unit is located at Ban Pa Khi; Amphoe Dan Chang, on Highway 333, 18 kilometres before arriving at Phu Toei National Park. The unit comprises a camping ground and exhibition about the forest. Phu Toei National Park Headquarters (ที่ทำการอุทยานแห่งชาติพุเตย) The headquarters is located at Ban Huai Hin Dam, Tambon Wang Yao, Amphoe Dan Chang, 12 kilometres from Unit 1.

Lauda Shrine The shrine is located between Unit 1 and the headquarters. It was built to commemorate the 223 passengers of Lauda Air who died in the plane crash on 26 May 1991.

Mountain Pine The mountain pine forest grows up naturally on the mountain range of Phu Toei 12 kilometres from Unit 1. Four-wheel drive vehicles can only go for 10 kilometres and then trek to the rest. The trail cuts through picturesque viewpoints and pine hill. Camping can be done in the pine forest.

Giant Cycad tree . The big cycad trees grow on Phu Toei mountain, dotting around the pine mountain forest. At a height of 6-8 metres, each cycad tree is 200-300 years old.

Namtok Taphoen Khi The waterfall is 33 kilometres from the headquarters and 51 kilometres from Amphoe Dan Chang. The two-tier waterfall cascades all year round to nourish the forest and Karen village, which has settled there for over 200 years. Lush forests allow naturalists to enjoy ecotourism and adventure.

Taphoen Khi Karen Village Located nearby the waterfall, the drug-and-drink-free village is Buddhist. In the full moon period of the 5th lunar month, the village holds a large celebration for three days and three nights to worship Chulamani, the sacred place of worship made from sharpened bamboo at the village’s ground.

Unit 2 (Phu Krathing) The unit is located in Ban Wang Hora of Amphoe Dan Chang. Around the unit are:
Lam Taphoen Reservoir The large reservoir is next to the unit.

Namtok Phu Krathing The waterfall is 7 kilometres from the unit, quite near to the reservoir.

Travelling to and accommodation at the Phu Toei National Park.
The park is 80 kilometres away from Amphoe Dan Chang, or 160 kilometres from downtown Suphan Buri. Motorists can get there via Highway 333, pass Tham Khao Weruwan and Ban Pa Khi. Unit 1 (Phu Toei) is 3 kilometres from Ban Pa Khi. Then get through tough road conditions, so high efficient four-wheel drives are recommended.
The park’s office is 14 kilometres in the direction of Amphoe Ban Rai, Uthai Thani province. You can turn left through Ban Wang Khun and drive for another 14 kilometres, or about 50 kilometres from Amphoe Dan Chang.
The park provides a natural and environmental study centre and camping ground. For more information, call Unit 2 (Phu Krathing) at Tel. 0 3552 9215 or Khao Son Unit at Tel. 0 1934 2240.
Tham Nakhi, Tham Mi Noi, Tham Yoi Raya, and Tham Pha Yai These caves are only 2 kilometres away from the headquarters. Visitor can explore the caves with beautiful stalactites and stalagmites. Adventurers can enjoy trekking.

 

 

Wat No Phutthangkun or Wat Makham No

Wat No Phutthangkun or Wat Makham No
is located 2 kilometres north of Wat Phra Loi along Highway 3507 on the west bank of the Tha Chin River.

Wat No Phutthangkun or Wat Makham No
The calm temple, built in the early Rattanakosin period, is located 2 kilometres north of Wat Phra Loi along Highway 3507 on the west bank of the Tha Chin River. Buddhists flock there for admiring beautiful murals in the old Ubosot. Painted in 1848 during the reign of King Rama III but still remains in excellent condition, the delicate murals feature the story of Lord Buddha’s life.


Agricultural Promotion and Development Centre

The centre was established to develop agriculture and plants, visitors can be excited by new technologies such as tissue culture, nursery, and plant distribution.

Located in Tambon Phlapphla Chai. Visitors can go through U Thong-Dan Chang Road for 6 kilometres and turn left across a bridge at the sugar factory. Keep on for 10 kilometres, the centre is on the left. As the centre was established to develop agriculture and plants, visitors can be excited by new technologies such as tissue culture, nursery, and plant distribution. The centre has 7 computer-controlled nurseries. For more information, please contact Tel. 0 3555 1399 ext. 217,227

Soiless Cultivation Centre

Located at Mu 6, Tambon Wang Nam Sap on Highway 340, the country’s largest soiless plantation acquires an area of 200 rai. Visitors can enjoy exploring modern culturing technology applied for local vegetables and temperate vegetables on soiless plantation. The vegetables are grown on sponge, sand, pebbles sawdust, or on a hydroponics system. As the vegetables are grown without pesticide, and chemicals, the consumer can enjoy it safely. The centre also feeds different kinds of freshwater fishes. Visitors can enjoy selecting fresh chemical-free vegetables and One Tambon One Product items. The centre opens daily from 8.00 a.m.-6.00 p.m. A guide service is available. For more information, call Bangkok office at Tel. 0 2435 0400, Suphan Buri office at Tel. 0 3556 2200 to 1, 0 1930 0000.

 

Old Market by Tha Chin River

The market is located on Highway 340, by Tha Chin River next to Amphoe Sam Chuk District Office. This Chinese community and old-fashioned market with wooden shophouses remain in Thai original style a century ago. Visitors may be surprised to see a photograph shop, which remains taking pictures by a century-old camera, herbal drugstore, or enjoy tasting local sweets, sipping old-fashioned local-style coffee by the river. The three-storey building dedicated to be a museum can draw visitors back to the yesteryears by different photographs featuring the way of life in the last era.

 

Wat Phra Si Rattana Mahathat

This ancient temple is located on Somphan Khong Road, 300 metres off Malai Maen Road in Tambon Rua Yai, on the western Bank of the Tha Chin River.

This ancient temple is located on Somphan Khong Road, 300 metres off Malai Maen Road in Tambon Rua Yai, on the western Bank of the Tha Chin River. The temple, whose history dates back not less than 600 years ago, was once in the heart of the ancient town Suphannaphum. The main stupa once housed relics of the Lord Buddha, but it was raided for treasure and neglected in ruins. The main target of the raiders was the famous version of Suphan Buri’s votire tabletss, which are among the top five sought-after series of votire tablets of Thailand.

The stupa was built from bricks but without cement works. Thus, archaeologists presumed that this stupa is the art from the U Thong Suphannaphum period, the pre-Ayutthaya art.

Ancient Town Walls and Gate

The old town of Suphan Buri was located at Tambon Rua Yai on the western bank of the Tha Chin River. Until today, an earth wall and moat remain between Wat Pa Lelai and the City Pillar Shrine. On the western side, double walls were strongly built with a moat outside, then a mound and the wall. The inner wall is 3,500 metres long on the north-south direction, and its width stretches for a kilometre to the river. The wall on the eastern side has all disappeared as it was dismantled during the reign of King Maha Chakkraphat. The Fine Arts Department rebuilt the town gate, on Malai Maen Road, on the location believed to have been the site of an old gate.

 

Sa Saksit (Sacred Pond)

The six ponds here are considered as sacred ponds whose water has been used for royal ceremonies. The Fine Arts Department has registered them all as historical sites, but none has been renovated.

The ponds are in Tambon Sa Kaeo, between kilometre markers 7-8 of Highway 322, opposite the Tha Sadet Bird Sanctuary, and 13 kilometres from downtown. King Rama V visited these sacred ponds, hence the village nearby was renamed as Ban Tha Sadet, or ‘Royal Visit Village’.

There were initially four sacred ponds including Sa Kaeo, Sa Kha, Sa Yommana, and Sa Ket. Two more ponds were found later including Sa Amarit 1 and Sa Amarit 2. King Rama V noted that it is unclear how these ponds become sacred, probably by influence of an important guru there. Nobody uses water from these ponds, nor eats fishes there. Grass covers around and made them habitats for crocodiles. Water from Sa Kha and Sa Yommana is rather brown and murky, but that from Sa Ket and Sa Kaeo is clean and clear.

Wat Phai Rong Wua

This temple is located at Tambon Bang Ta Then, Amphoe Song Phi Nong, 43 kilometres from the town on the way to Bangkok. It houses the largest metal cast Buddha image of the world called Phra Phutthakhodom, which has a lap width of 10 metres and a height of 26 metres.

Wat Phra Rup

Located on Khun Chang Road, on the western bank of the Tha Chin River, opposite the market, this temple dates back over 600 years to the late U Thong period. The ancient temple houses a reclining Buddha statue, which is said to have the most beautiful face in Thailand. With a length of 13 metres and 3 metres high, the east-facing reclining Buddha image is surmised to have been built during the years 1257-1260.

Another interesting antique is a wooden Buddha footprint. The footprint is 221.5 centimetres long, 74 centimetres wide and 10 centimetres thick. Delicately carved on both sides of Paduak wood, it is the only one of its kind in Thailand.

The footprint was formerly housed at Wat Khao Din. During a war between Thailand and Burma, it was saved by a monk who was afraid this precious item would be destroyed. So he brought the footprint down the river and placed it here. Moreover, the temple compound comprises many antiques such as a Pagoda of the U Thong period, remains of a pagoda of the Dvaravati period, bronze bell, delicately carved pulpit of the late Ayutthaya style. Wat Phra Rup is also the original place of the famous Phra Khun Phaen amulet.

Wat Suwannaphum

Wat Mai means new temple, but the establishment of this temple dates back some 600 years ago to the early Ayutthaya period. In the temple’s compound, the Museum of the Supreme Patriarch (Pun Punnasiri Mahathera) displays many special items of antiquity such as Buddha images, clocks, arms, betel box, vases, glasses, crockery as well as a glared ceramic alms bowl of the Sukhothai period or around the 13th century. This is the only piece of its kind in Thailand.
The temple is located on Phra Phanwasa Road in the municipal area. The museum is open daily from 8.00 a.m.-4.00 p.m. but prior permission is required. Call Tel. 0 3552 3603, 0 9241 5265 for more information.

Wat Pa Lelai

This is a very old temple located on the west bank of the river on Malaimaen Road in the town. It is believed to have been built some 800 years ago when Suphan Buri was a prosperous community. A huge sitting Buddha image named "Luang Pho To", 23 metres in height, is enshrined in the main chapel. The image was originally situated in the open area and was later covered by the chapel. Worship fairs celebrating the image are held twice a year in April and November.

In addition, an old Thai style house called Khum Khun Chang has been built in the temple compound. The design of the construction has followed the description in Khun Chang-Khun Phan, a classic Thai poem which is a work of Sunthon Phu, the greatest poet of Thailand during the early Bangkok period.

Wat Khae

The ancient temple is located in Amphoe Mueang, two kilometres north of Wat Phra Si Rattana Mahathat. Wat Khae, which was mentioned in Thai literature ‘Khun Chang Khun –Phaen, houses a huge tamarind tree which is around a thousand years old. The tamarind tree is 9.5 metres in circumference. It is believed that Khun Phaen learnt magic from Master Khong, spelling magic words and transforming tamarind leaves into wasps and hornets to fight the enemy. Nearby the tree is “Khum Khun Phaen”, a traditional Thai house built as part of the literature and historical conservation park.
The temple houses special antiques such as Lord Buddha’s footprints called “Phra Phutthabat Si Roi”. They are four footprints, each laying over the others. The footprints are made from brass, measuring 1.40 metres wide and 2.80 metres long. There is also an image of Buddha seated in the gesture of subduing Mara and wearing a robe with beautiful floral pattern of the Rattanakosin period. Other antiques include a brass bell, brass boiler for boiling robe dye, and a Thai-style bookcase, that King Rama V donated to the temple in 1869.

Wat Thap Kradan

the temple has a museum dedicated to a famous singer of Thai folk song, Phumphuang Duangchan. She spent her childhood around this temple.

Located at kilometre 10 of Highway 3351, the temple has a museum dedicated to a famous singer of Thai folk song, Phumphuang Duangchan. She spent her childhood around this temple. So, her belongings, equipment, photographs, and news clipping are displayed in this temple. Her fans always place her portraits at the temple’s boat landing after their wishes made here are fulfilled. An annual ceremony to commemorate her passing always attracts lots of people to the temple. At the temple’s front gate is a shopping area with many stalls offering dried and fresh agricultural products.

Affinit Orchids

the orchid nursery grows orchids of different families for study and sale such as Dendrobium, Cattleya, Vanda.

Located at Mu 9 Tambon Chorakhe Samphan, the orchid nursery grows orchids of different families for study and sale such as Dendrobium, Cattleya, Vanda. Motorists can reach there via Highway 321 and take Highway 324 for 5 kilometres. Then turn right at kilometre 46-47, continue for another 200 metres. The nursery opens daily from 8.00 a.m.-5.00 p.m. Group visitors please contact in advance at Tel. 0 1649 8585 and 0 2974 0886. More information is available in the website www.affinitorchid.com.

Wat Khao Di Salak

The hilltop temple is located in Tambon Don Kha, 8 kilometres from downtown Amphoe U Thong. It houses quite a special Buddha’s footprint, a bas-relief footprint carved out of red sandstone.

The hilltop temple is located in Tambon Don Kha, 8 kilometres from downtown Amphoe U Thong. It houses quite a special Buddha’s footprint, a bas-relief footprint carved out of red sandstone. The footprint is 65.5 centimetres wide and 141.5 centimetres long.

Archaeologists presumed that the footprint is an art object of the Dvaravati style, dating back to 9th -11th century. Furthermore, Buddha images and artefacts were discovered from a rock cavity. From the peak, you can enjoy a panoramic view of the town.

Wat Khao Phra Si Sanphetchayaram or Wat Khao Phra

It is presumed that this hilltop temple was founded since the Dvaravati period as a lot of archaeological evidence has been found such as many stone Buddha statues, stone discus holding Visnu, etc.

The ancient temple can be accessed from a sub-road about 2 kilometres off Malai Maen Road, in Amphoe U Thong downtown, close to the clock tower. It is presumed that this hilltop temple was founded since the Dvaravati period as a lot of archaeological evidence has been found such as many stone Buddha statues, stone discus holding Visnu, etc. On the hill, a ruin of a pagoda from the Ayutthaya period is found together with the Buddha’s footprint carved from stone. The temple celebrates the principal reclining Buddha image twice annually on the fullmoon days of the 12th and 5th lunar months.

U Thong National Museum

It exhibits archaeological evidence and art objects from different periods found in Suphan Buri. The first building exhibits the finding of U Thong City in both pre-historical and Dvaravati periods as well as Buddha statues of the Dvaravati style.

The museum is located on Malai Maen Road, next to U Thong District Office and U Thong Sueksalai School. It exhibits archaeological evidence and art objects from different periods found in Suphan Buri. The first building exhibits the finding of U Thong City in both pre-historical and Dvaravati periods as well as Buddha statues of the Dvaravati style. An exhibition in the second building features ethnic groups and beads found from such periods. Outside is a mock-up house in the style of the Lao Song ethnic group featuring traditions, clothing, and tools.

The museum opens on Wednesday to Sunday, from 8.30 a.m.-4.00 p.m.

Admission is 150 baht.

call Tel. 0 3555 1040 for more information.

Wat Doem Bang

the temple houses precious wooden pulpit carved delicately in a mixed Thai and Chinese style by a Chinese artisan which was finished in 1923. The temple also keeps oyster shell alms bowl cover

Located 55 kilometres from Amphoe Mueang, the temple houses precious wooden pulpit carved delicately in a mixed Thai and Chinese style by a Chinese artisan which was finished in 1923. The temple also keeps oyster shell alms bowl cover, ceremonial fan, and food carrier, which were presents from King Rama V. There is also a beautiful bell tower and murals in the Ubosot here.

Wat Ban Krang

this temple is famed for sacred votire tablets know as Khun Paen. It is presumed that, this temple was built after the war between King Naresuan and the Burmese troops.

Located on the bank of Tha Chin River, on kilometre 14-15 of Highway 3038, this temple is famed for sacred votire tablets know as Khun Paen. It is presumed that, this temple was built after the war between King Naresuan and the Burmese troops.The fish sanctuary in the river in front of the temple is a nice place for local people to relax. At the temple entrance, old-fashioned wooden shophouses reflect the easy lifestyle of the people.

Wat Pa Phruek’s Fish Sanctuary

Around the temple’s waterside is a big school of various fishes such as Nile tilapia, iridescent shark-catfish, and black-eared catfish.

The temple is located in Tambon Ban Laem, 17 kilometres from downtown. Motorists can use Highway 340 till kilometre 86 then turn onto Highway 3351 for ten kilometres. Around the temple’s waterside is a big school of various fishes such as Nile tilapia, iridescent shark-catfish, and black-eared catfish. A concrete footpath about 100 metres long lining the river allows visitors to enjoy watching or feeding them.

The Western National Theatre of Suphan Buri

the regional theatre is established for promoting and supplying knowledge about local cultural performances, music and classical dances of western provinces.

Located on Highway 340 in the compound of the Western Art and Cultural Centre, Suphan Buri, the regional theatre is established for promoting and supplying knowledge about local cultural performances, music and classical dances of western provinces. It also serves as a venue for cultural exchanges at an international level. The public can enjoy regular performances by the College of Dramatic Arts in this 850 seated theatre on the 1st, 2nd, and 3rd Saturday of each month. Admission fees are 40, 60, and 80 baht. For reservations and more information call Tel. 0 3553 5112, 0 3553 5118.

National Museum, Suphan Buri


the museum features important historical evidence of Suphan Buri town since ancient times. Exhibitions feature development of the town from the pre-historical, through Dvaravati, Lop Buri, Ayutthaya, and Rattanakosin periods.

Located on Highway 340 in the compound of the Western Art and Cultural Centre, Suphan Buri, the museum features important historical evidence of Suphan Buri town since ancient times. Exhibitions feature development of the town from the pre-historical, through Dvaravati, Lop Buri, Ayutthaya, and Rattanakosin periods. Multimedia displays the significant battle of the royal duel on elephant back. The museum also displays ethnic groups in the province, important persons, famous votire tablets from different temples, and songs of different famous folk singers.

The National Museum Suphan Buri, opens from Wednesday to Sunday from 9.00 a.m. to 4.00 p.m. except on public holidays.

Admission fee is 100 baht

For more information, please call Tel. 0 3553 5330.

Wat Phra Loi

Located by the Tha Chin River, not far from Wat Khae, Wat Phra Loi was built to house a Buddha image that drifted along the river.

Located by the Tha Chin River, not far from Wat Khae, Wat Phra Loi was built to house a Buddha image that drifted along the river. The white sandstone Buddha image seated under the Naga hood, presumably carved in Lop Buri period, was taken from the water to be enshrined here.

In the temple compound, there is a ruined Ubosot built in the U thong period. Now it is preserved under the roof of the new Ubosot. Nearby, an elegant Ubosot with four entrances houses beautiful the principal Buddha image called Phra Phutthanawaratmongkhon as well as ancient sandstone Buddha images in various attitudes.

After paying respect to the Buddha images, visitors can enjoy feeding thousands of fish in the sanctuary in front of the temple.

Wat Khao Khuen or Wat Khao Nang Buat (Wat Phra Achan Thammachot)

The temple is located on Nang Buat mountain at kilometre 138-139 of Highway 340, 51 kilometres from downtown. A former monk resident of this temple, Phra Achan Thammachot, played a key role in the ancient war against the Burmese troops. By his excellence in talisman, villagers of Ban Bang Rachan in Sing Buri Province invited him to encourage all warriors to fight against the Burmese troops, which were defeating Ayutthaya at the time.
The temple’s image hall houses the Lord Buddha’s footprint. And nearby is a pagoda made from a pile of stone slabs. From the mountain’s peak, a beautiful panoramic view of the Amphoe is worth visiting.

Thai Rice Farmers National Museum

Located on Phra Phanwasa Rd, in the compound of Mueang Suphan Buri District Office, the museum building is a blend of a traditional Thai house and farmer’s granary. The museum interests visitors through its rice farming exhibition. The ground floor exhibition features the history of rice farming, equipment, farmer’s life, and rice-related topics from the past. Interesting evidence include potsherds found at Ban Bang Pun, Tambon Phihan Daeng, Amphoe Mueang , Suphan Buri, which may prove the existence of the Royal Ploughing Ceremony during the Ayutthaya Period. A library for researching about the exhibits is available. The first floor is an exhibition of the role of Thai kings and their royal patronage from the past till the present in supporting and developing rice farming. A photo gallery features significant events in Suphan Buri when the Crown Prince visited demonstration of padding fields at Bueng Phai Khaek, Tambon Don Pho Thong in Amphoe Mueang in 1986. The Crown Prince made compost, sowed grain, and harvested the produce by himself. The equipment used during the events is displayed. The museum opens from Wednesday to Sunday (It is closed on Monday, Tuesday and public holidays), from 9.00 a.m.-4.00 p.m. Call Tel. 0 3552 2191 for more information.

 

City Pillar Shrine

This is located on the west bank of the Suphan Buri River. Originally it was built in Thai style architecture but later altered to a Chinese pavilion design. The shrine houses statues of the god Vishnu carved out of green stone.

Tha Sadet Bird Sanctuary

The bird sanctuary is in Ban Tha Sadet, Tambon Sa Kaeo, 15 kilometres from downtown along Highway 322. The sanctuary is located in private fruit orchards whose owners are kind enough to let the birds live undisturbed. For over 40 years, the bird population has risen from a handful amount to thousands. Visitors can see various kinds of birds such as heron, Asian openbill, ibis, and stork. Presently, the area has been developed as an attraction of the province under the management of the Royal Forestry Department. Visitors can witness a large number of birds from the watch tower, particularly when they blacken the sky at dusk. In every October, the sanctuary will be crowded with migratory birds.


สุพรรณบุรี : ข้อมูลทั่วไป

เมืองยุทธหัตถี วรรณคดีขึ้นชื่อ เลื่องลือพระเครื่อง รุ่งเรืองเกษตรกรรม สูงล้ำประวัติศาสตร์ แหล่งปราชญ์ศิลปิน ภาษาถิ่นชวนฟัง

จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 100 กิโลเมตร เป็นเมืองที่มีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจมากมาย ทั้งทางประวัติศาสตร์และทางธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ วัดเขาขึ้นของพระอาจารย์ธรรมโชติผู้สร้างขวัญและกำลังใจให้กับชาวบ้านบางระ จัน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง อุทยานแห่งชาติพุเตย บึงฉวาก และมีขนมขึ้นชื่ออย่างสาลี่สุพรรณ
ภาษาถิ่นชวนฟัง สุพรรณบุรีเป็นเมืองสมัยโบราณ พบหลักฐานทางโบราณคดี มีอายุไม่ต่ำกว่า 3,500-3,800 ปี โบราณวัตถุที่ขุดพบมีทั้งยุคหินใหม่ ยุคสัมฤทธิ์ ยุคเหล็ก และสืบทอดวัฒนธรรมต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยสุวรรณภูมิ เดิมจังหวัดสุพรรณบุรีเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “เมืองทวารวดีศรีสุพรรณภูมิ” หรือ “พันธุมบุรี” ต่อมาเมื่อพระเจ้ากาแต (เชื้อสายไทยปนพม่า) เสด็จขึ้นครองราชย์ และย้ายเมืองมาอยู่ทางฝั่งขวาของแม่น้ำท่าจีน ได้ทรงสร้างวัดสนามชัย และบูรณะวัดป่าเลไลยก์ ได้ทรงชักชวนข้าราชการออกบวช จำนวน 2,000 คน จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “สองพันบุรี” ครั้นพระเจ้าอู่ทองทรงย้ายเมืองไปอยู่ทางฝั่งใต้ (ทิศตะวันตกของแม่น้ำท่าจีน) เมืองนี้จึงได้ชื่อใหม่ว่า “อู่ทอง” จนกระทั่งลุเข้าสมัยขุนหลวงพะงั่ว จึงเปลี่ยนชื่อเป็นสุพรรณบุรีใน ที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นเมืองต้นกำเนิดวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผน อันเป็นวรรณคดีสำคัญเรื่องหนึ่งของของชาติไทย เมื่อไปถึงสุพรรณบุรีเราจะได้สัมผัสบรรยากาศของวรรณกรรมเรื่องนี้ไม่ว่าจะ เป็น ชื่อตำบล ชื่อบ้าน ชื่อถนน และชื่อสถานที่สำคัญต่างๆ ในท้องเรื่องยังมีปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เช่น บ้านรั้วใหญ่ วัดเขาใหญ่ ไร่ฝ้าย วัดป่าเลไลยก์ วัดแค ถนนนางพิม ถนนขุนไกร อำเภออู่ทอง และอำเภอศรีประจันต์

สุพรรณบุรี มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 5,358 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10อำเภอได้แก่อำเภอเมืองอำเภอบางปลาม้าอำเภอศรีประจันต์อำเภอดอนเจดีย์อำเภอ เดิมบางนางบวชอำเภออู่ทองอำเภอสามชุก อำเภอหนองหญ้าไซอำเภอสองพี่น้องและ อำเภอด่านช้าง

อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดชัยนาท และจังหวัดอุทัยธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดนครปฐม
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอ่างทอง พระนครศรีอยุธยา และสิงห์บุรี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดกาญจนบุรี

หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ

  1. สำนักงานจังหวัด โทร. 0 3553 5376,0 3540 8200, 0 3553 5378
  2. เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี โทร. 0 3551 1987, 0 3551 1021
  3. ประชาสัมพันธ์จังหวัด โทร. 0 3540 8220, 0 3553 5423
  4. ททท.สำนักงานสุพรรณบุรี () โทร. 0 3553 6030
  5. สถานีตำรวจภูธร โทร. 0 3552 5583-4
  6. สถานีขนส่ง จ.สุพรรณบุรี (บขส.) โทร. 0 3552 2373
  7. โรงพยาบาลศุภมิตรสุพรรณบุรี โทร. 0 3550 0283-8, 0 3550 1601-5
  8. โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โทร. 0 3550 2784-8, 0 3552 4068-98
  9. โรงพยาบาลดอนเจดีย์ โทร. 0 3559 1032, 0 3557 8032-3 โทร. 0 3550 8577, 0 3550 8492
  10. โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช โทร. 0 3557 8032-3, 0 3550 8577, 0 3550 8492
  11. โรงพยาบาลบางปลาม้า โทร. 0 3540 0578-81
  12. โรงพยาบาลศรีประจันต์ โทร. 0 3558 1204, 0 3558 1203, 0 3558 1749-51
  13. โรงพยาบาลอู่ทอง โทร. 0 3555 1422, 0 3555 1432
  14. โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 อ.สองพี่น้อง โทร. 0 3553 1077
  15. โรงพยาบาลสามชุก โทร. 0 3557 1492
  16. โรงพยาบาลด่านช้าง โทร. 0 3559 5032, 0 3550 9693-6
  17. ตำรวจทางหลวง โทร. 1193
  18. ตำรวจท่องเที่ยว โทร. 1155

Link ที่น่าสนใจ

ข้อมูลตำบลและสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
http://www.thaitambon.com
สำนักงานจังหวัดสุพรรณบุรี
http://www.suphanburi.go.th

สุพรรณบุรี : ข้อมูลการเดินทาง

ข้อมูลการเดินทางของ จ. สุพรรณบุรี
การเดินทางจากสุพรรณบุรีไปยังจังหวัดใกล้เคียง

  1. พระนครศรีอยุธยา 31 กิโลเมตร
  2. อ่างทอง 44 กิโลเมตร
  3. ปทุมธานี 80 กิโลเมต
  4. นนทบุรี 89 กิโลเมตร
  5. กาญจนบุรี 91 กิโลเมตร
ระยะทางจากอำเภอเมืองสุพรรณบุรีไปยังอำเภอต่างๆ
  1. อำเภอบางปลาม้า 10 กิโลเมตร
  2. อำเภอศรีประจันต์ 20 กิโลเมตร
  3. อำเภอดอนเจดีย์ 31 กิโลเมตร
  4. อำเภออู่ทอง 32 กิโลเมตร
  5. อำเภอสามชุก 39 กิโลเมตร
  6. อำเภอเดิมบางนางบวช 54 กิโลเมตร
  7. อำเภอหนองหญ้าไซ 58 กิโลเมตร
  8. อำเภอสองพี่น้อง 70 กิโลเมตร
  9. อำเภอด่านช้าง 77 กิโลเมตร

รถยนต์

สามารถใช้เส้นทางในการเดินทางได้หลายเส้นทาง ใช้เวลาเดินทางจากกรุงเทพฯ ประมาณ 1 ชั่วโมง ดังนี้

1. จากกรุงเทพฯ ผ่านอำเภอบางบัวทอง ไปจนถึงตัวจังหวัดสุพรรณบุรี หรือจากกรุงเทพฯ ผ่านนนทบุรี อำเภอบางบัวทอง ไปจนถึงตัวจังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางประมาณ 107 กิโลเมตร

2. จากกรุงเทพฯ ผ่านจังหวัดปทุมธานี อำเภอลาดหลุมแก้ว ไปจนถึงตัวจังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางประมาณ 115 กิโลเมตร

3. จากกรุงเทพฯ ผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไปจนถึงตัวจังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางประมาณ 132 กิโลเมตร

4. จากกรุงเทพฯ ผ่านจังหวัดสิงห์บุรี อำเภอเดิมบางนางบวช ไปจนถึงตัวจังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางประมาณ 228 กิโลเมตร

5. จากกรุงเทพฯ ผ่านจังหวัดอ่างทอง ไปจนถึงตัวจังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางประมาณ 150 กิโลเมตร

6. จากกรุงเทพฯ ผ่านจังหวัดนครปฐม อำเภอกำแพงแสน ไปจนถึงตัวจังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางประมาณ 164 กิโลเมตร

หรือใช้ทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด) สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 1543

รถไฟ
การรถไฟ แห่งประเทศไทย มีขบวนรถไฟออกจากสถานีรถไฟหัวลำโพงไปสถานีรถไฟจังหวัดสุพรรณบุรีทุกวัน วันละ 1 เที่ยว จากกรุงเทพฯ เวลา 16.40 น. ถึงสุพรรณบุรี 19.40 น.และเที่ยวกลับจากสุพรรณบุรี เวลา 04.40 น. ถึงกรุงเทพฯ 08.10 น. สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ หน่วยบริการเดินทาง การรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 0 2220 4334, 0 2621 8710, 1690 สถานีรถไฟสุพรรณบุรี โทร 0 3551 1950, 0 3552 1799 หรือที่เว็บไซต์ www.railway.co.th

รถโดยสารประจำทาง
บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการรถโดยสารประจำทางออกจาก สถานีขนส่งหมอชิต ถนนกำแพงเพชร 2 ไปจังหวัดสุพรรณบุรีทุกวัน ทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 2936 2852-66 และมีรถออกจาก สถานีขนส่งสายใต้ ถนนบรมราชชนนี ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 30 นาที สอบถามเพิ่มเติมสำหรับ โทร. 0 2894 6122 สถานีขนส่งสุพรรณบุรี โทร. 0 3552 2373 และ บริษัท สุพรรณทัวร์ โทร. 0 2884 9522 (สุพรรณบุรี) โทร. 0 3550 0817 รถออกจากกรุงเทพฯ เที่ยวแรก 06.00 น. เที่ยวสุดท้าย 18.30 น. ออกจากสุพรรณบุรี เที่ยวแรก 04.00 น. เที่ยวสุดท้าย 17.45 น. หรือที่เว็บไซต์ www.transport.co.th

ารคมนาคมภายในตัวจังหวัด จ.สุพรรณบุรี
การเดินทางจากอำเภอเมืองสุพรรณบุรีไปยังอำเภอต่าง ๆ

  1. อำเภอบางปลาม้า 10 กิโลเมตร
  2. อำเภอศรีประจันต์ 20 กิโลเมตร
  3. อำเภอดอนเจดีย์ 31 กิโลเมตร
  4. อำเภออู่ทอง 32 กิโลเมตร
  5. อำเภอสามชุก 39 กิโลเมตร
  6. อำเภอเดิมบางนางบวช 54 กิโลเมตร
  7. อำเภอหนองหญ้าไซ 58 กิโลเมตร
  8. อำเภอสองพี่น้อง 70 กิโลเมตร
  9. อำเภอด่านช้าง 77 กิโลเมตร

สุพรรณบุรี : วัฒนธรรมประเพณี

พิธีไหว้จุฬามณี
วันที่ 2 เมษายน 2552
ณ หมู่บ้านตะเพิ่นคี่ อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี

กิจกรรม
การจัดพิธีไหว้จุฬามณี

ประเพณี "ไหว้จุฬามณี" คือ ประเพณีที่เก่าแก่ปฏิบัติสืบทอดกันมากว่า 200 ปี เป็นวันสำคัญที่สุดวันหนึ่งของหมู่บ้านที่จัดในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 ของทุกปี ถือเป็นวันรวมญาติและร่วมกันแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบิดา มารดา ป่าเขาและลำห้วยตะเพินคี่ ซึ่งเป็นแหล่งน้ำแห่งเดียวที่หล่อเลี้ยงชีวิตผู้คนที่นี่มาช้านาน
"เจดีย์จุฬามณี" ถือเป็นสถานที่สำคัญอันเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวตะเพินคี่และชาวกะเหรี่ยงใน ละแวกใกล้เคียง มีลักษณะเป็นเสาไม้แกะสลักปักอยู่ใจกลางหมู่บ้าน เสมือนเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้าที่ชาวบ้านให้ความเคารพบูชา มีลานโล่งและจำปาลาวอยู่รายรอบเป็นอาณาบริเวณที่สะท้อนถึงความศักดิ์สิทธิ์ ตามความเชื่อของชาวบ้านอย่างเด่นชัด นอกจากนั้นยังมีเจ้าวัด ซึ่งเป็นบุคคลสำคัญของหมู่บ้านที่สืบทอดตำแหน่งในการทำพิธีกรรมต่างๆ ของหมู่บ้านมาจากคนรุ่นก่อน ซึ่งผู้ที่ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าวัดนี้จะได้รับการเคารพและศรัทธาจากชาวบ้าน มาก เพราะเป็นผู้ที่คอยคุ้มครองดูแลลูกหลาน เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้คนในหมู่บ้านควบคู่ไปกับเจดีย์จุฬามณี

สอบถามรายละเอียด
ที่ว่าการอำเภอด่านช้าง โทร. 0 3559 5080

งานอัศจรรย์วันสงกรานต์สุพรรณบุรี

วันที่จัดงาน 12 - 14 เมษายน 2552

พื้นที่จัดงาน ณ บริเวณลานอเนกประสงค์หมู่บ้านเณรแก้ว ถนนเณรแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

กิจกรรมในงาน
ทำบุญตักบาตร สรงน้ำหลวงพ่อโตทองคำ สรงน้ำพระสงฆ์ รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ การประกวดประเพณีสงกรานต์ การแสดงศิลปวัฒนธรรม สาธิตการละเล่นสงกรานต์พื้นบ้าน ชิมอาหารรสเด็ดเมืองสุพรรณ และร่วมเล่นน้ำสงกรานต์เมืองสุพรรณ

กิจกรรม HI-Light
พิธีรดนำขอพรจากผู้ใหญ่ผู้มีอุปการคุณูปการของจังหวัดสุพรรณบุรี ขบวนแห่หลวงพ่อโตทองคำ ขบวนแห่สงกรนต์ และการประกวดเทพีสงกรานต์

สอบถามรายละเอียด
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี โทร. 0 3553 6058
ททท. สำนักงานสุพรรรลบุรี โทร. 0 3553 6030

ประเพณีสงกรานต์ อำเภออู่ทอง
วันที่จัดงาน 13 – 15 เมษายน 2552
พื้นที่จัดงาน ณ ถนนท้าวอู่ทอง และบริเวณสวนสาธารณะ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

กิจกรรมในงาน
พิธีทำบุญตักบาตร การรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ การละเล่นของไทย รำวงย้อนยุค การออกร้านต่างๆ

สอบถามรายละเอียด
สำนักงานเทศบาลอำเภออู่ทอง โทร. 0 3555 1999 ต่อ กองการศึกษา

สุพรรณบุรี : สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ
วัดประตูสาร

วัดประตูสาร อยู่ที่ถนนขุนช้าง ตำบลรั้วใหญ่ ภายในเขตเทศบาลเมือง เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง ไม่มีหลักฐานเก่าระบุว่าสร้างเมื่อใด แต่คงจะสร้างขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2379 ซึ่งเป็นปีที่สุนทรภู่มาสุพรรณบุรี ภายในพระอุโบสถมีจิตรกรรมฝาผนังเรื่องเกี่ยวกับพุทธประวัติ ฝีมือช่างหลวง เชื่อกันว่า เป็นคนเดียวกับที่เขียนจิตรกรรมฝาผนังวัดหน่อพุทธางกูร เขียนราว พ.ศ. 2391 นอกจากนี้ยังมีจิตรกรรมที่เขียนบนพื้นไม้เป็นแผ่นๆ เรื่องพุทธประวัติและมหาชาติ ลักษณะของภาพเหมือนจะลอกแบบจิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถ เก็บรักษาอยู่ในวิหาร สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0 3554 3598

พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร (อุทยานมังกรสวรรค์)

พิพิธภัณฑ์ ลูกหลานพันธุ์มังกร ตั้งอยู่ภายในบริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรี ห่างจากฝั่งแม่น้ำไปตามถนนมาลัยแมน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสที่ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความสัมพันธ์ทางการทูตครบ 20 ปี เมื่อปี พ.ศ. 2539 ขณะที่ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 21 ของประเทศไทย พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรออกแบบขึ้น เพื่อนำเสนอเรื่องราวประวัติศาสตร์ของอารยธรรมจีนที่ยาวนานถึง 5,000 ปี ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นอารยธรรมที่เก่าแก่และสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของ โลก ภาย ใต้รูปแบบมังกรสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ที่รู้จักกันดี ภายในห้องจัดแสดงเรื่องราวประวัติศาสตร์จีนตั้งแต่สมัยตำนานการสร้างโลกยุค แรกเริ่มทางประวัติศาสตร์ ลำดับราชวงศ์ตั้งแต่ยุคหวงตี้ เหยียนตี้ ยุคเซี่ย ซาง อันถือเป็นยุคปฐมกษัติย์ ราชวงศ์โจว ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ยุคสามก๊ก ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หมิง ถึงราชวงศ์ชิงซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้าย สมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง และแสดงประวัติความเป็นมาของพี่น้องชาวไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทย เรื่องราวที่นำเสนอประกอบด้วย เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ ประวัติบุคคลสำคัญ ปรัชญา ภูมิปัญญา และการค้นพบประดิษฐกรรม ภายในตัวมังกรใช้สื่อจัดแสดงที่ทันสมัย เช่น ภาพยนตร์ ระบบโสตทัศนูปกรณ์ที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ แสง เสียง หุ่นจำลอง พร้อมเทปบรรยายเป็นภาษาไทย จีน และอังกฤษ นอกจากนั้นยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ อย่างครบครัน เป็นต้นว่า ห้อง ฉายภาพยนตร์ ห้องรับฝากของ จำหน่ายหนังสือ ห้องจำหน่ายของที่ระลึก และห้องเครื่องเล่นสำหรับเด็ก มุ่งเน้นให้ผู้เข้าชมได้รับความรู้และความเพลิดเลินในเวลาเดียวกัน อีกทั้งสอดแทรกคุณธรรมสำคัญในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่บรรพบุรุษชาวจีนยึด ถือ และได้ปรากฎให้เห็นตลอดเวลาอันยาวนานของประวัติศาสตร์ เพื่อให้ผู้เข้าชมได้นำเอาความรู้และคุณธรรมไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์กับ ชีวิตในโอกาสต่อไป อีกทั้งยังเป็นการสร้างแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญระดับประเทศให้เกิดขึ้นใน จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นจังหวัดตัวอย่างในการพัฒนาของประเทศไทย
พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร (อุทยานมังกรสวรรค์) เปิดให้เข้าชมทุกวันพุธ – วันอาทิตย์ หยุดทุกวันจันทร์และวันอังคาร เปิดให้เข้าชมวันละ 7 รอบๆ ละประมาณ หนึ่งชั่วโมงกว่า รอบแรก เวลา 10.00 น. รอบสุดท้ายเวลา 16.00 น. ค่าเข้าชมชาวไทย ผู้ใหญ่ 299 บาท เด็ก 149 บาท ชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 499 บาท เด็ก 299 บาท โทร. 0 3522 6211
พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร
ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

ความเป็นมาก่อเกิดจากความสัมพันธ์ไทย - จีนที่แนบแน่น
สัมพันธ์ไทย - จีน นานยาวหลายศตวรรษ ชาวจีนใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารต่างแซ่ซ้องสดุดี แสดงความกตัญญูต่อแผ่นดินไทยในทุกโอกาส...อาคารหลังนี้ สร้างขึ้นโดยแรงบันดาลใจของนายบรรหาร ศิลปอาชา ประธานคณะกรรมการศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี ร่วมกับพ่อค้า ประชาชน ที่สนใจในประวัติศาสตร์วัฒนธรรมสัมพันธ์ไทย - จีน และเพื่อฉลองความสัมพันธ์ทางการทูตไทย - จีน ที่มีอายุครบ 20 ปี ใน พ.ศ.2538 จึงได้ริเริ่มรวบรสมเงินจากผู้ศรัทธามาออกแบบก่อสร้าง จัดแสดงนิทรรศการถาวร ลำดับประวัติศาสตร์วัฒนธรรมจีนที่ยาวนานกว่า 5 พันปี ให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา...ทบทวน เพื่อสานต่อ...สัมพันธ์อันน่ายกย่อง...ระหว่างไทย - จีน ให้รุ่งเรืองต่อไป

ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี
"เจ้าพ่อหลักเมือง" เป็นประติมากรรมสลักหินแบบนูนต่ำ สันนิษฐานว่าเป็นรูปพระนารายณ์สี่กร มีอายุประมาณ 1,300 - 1,400 ปี เป็นที่เคารพสักการะของพี่น้องชาวไทยเชื้อสายจีน
ประมาณ 150 ปีมาแล้ว คาดว่าชาวจีนเป็นผู้พบ "เจ้าพ่อหลักเมือง" จมโคลนอยู่ริมคลองจึงได้อัญเชิญขึ้นพร้อมสร้างศาลให้เป็นที่ประทับตามหลัก ฐานทางด้านประวัติศาสตร์ แสดงว่ามีเฮียกงหรือกรรมการจีนดูแลรักษาเรื่อยมา
เมื่อ พ.ศ.2453 สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสด้จมาตรวจราชการเมืองสุพรรณ ทรงสักการะเจ้าพ่อหลักเมืองและประทานทรัพย์ส่วนพระองค์ให้ส่วนหนึ่งต่อมามี ผู้ไปกราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาส เมืองสุพรรณ พระพุทธเจ้าหลวงทรงพระราชดำรัสว่า "เข้าที่ดีหนักหนา แต่เขาห้ามไม่ไห้เจ้าไปเมืองสุพรรณบุรีว่าถ้าขืนไปจะเป็นบ้าไม่ใช่หรือ"สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพกราบบังคมทูลว่า ข้าพระพุทธเจ้าไปมาแล้วไม่เห็นเป็นอะไร ยังรับราชการมาจนบัดนี้ พระพุทธเจ้าหลวงตรัสว่า "ไปซิ" จึงเสด็จมาเมืองสุพรรณและพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ก่อเขื่อนรอบเนินศาล ทำชานที่คนบูชาสร้างกำแพงแก้ว ต่อตัวศาลออกมาข้างนอกเป็นเก๋งแบบจีน
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ จึงร่วมกับเจ้าพระยายมราช สนพระทัยในศาลเจ้าพ่อหลักเมืองได้ปรับปรุงเพิ่มในราว พ.ศ.2480 ต่อมาภายหลังศาลเจ้าพ่อหลักเมืองชำรุดทรุดโทรมมาก นายบรรหาร ศิลปอาชา พร้อมด้วยคณะกรรมการฯ จึงได้ปรับปรุงศาลเจ้าพ่อหลักเมืองให้กว้างขึ้น โดยสร้างอาคารแบบจีน สิ้นงบประมาณ 20 ล้านบาทเศษ ทั้งยังได้ซื้อที่ดินบริเวณหน้าศาลเจ้าพ่อหลักเมืองถวายเพิ่มอีก 7 ไร่ งบประมาณ 20 ล้านบาท

ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง "เจ้าพ่อหลักเมือง" เป็นประติมากรรมสลักหินแบบนูนต่ำ สันนิษฐานว่าเป็นรูปพระนารายณ์สี่กร มีอายุประมาณ 1,300 - 1,400 ปี เป็นที่เคารพสักการะของที่พักชาวไทยเชื้อสายจีน

หอระฆังสัมฤทธิ์ ระฆังสำริดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สูง 3.47 เมตร ปากระฆังกว้าง 2.14 เมตร น้ำหนัก 3.28 ตัน
ศาลากลางน้ำเจ็ดชั้น ศลากลางน้ำ 7 ชั้น สูง 27 เมตร กว้าง 14 เมตร

ศาลาเทียนอันเหมิน เป็นสถานที่ใช้ประชุมคณะกรรมการศาลเจ้าพ่อหลักเมืองฯและใช้เป็นที่รับประทานอาหาร

พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร อาคารทรงมังกร ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ความยาว 135 เมตร สูง 35 เมตร กว้าง 18 เมตร ภายในเป็นห้องจัดแสดงประวัติศาสตร์อารยธรรมของชาวจีนย้อนหลังไปถึง 5,000 ปี

ไขปริศนา ความยิ่งใหญ่ของแผ่นดินมังกร
ตื่นตาตื่นใจไปกับเทคนิคการจัดแสดงที่ทันสมัย แสง สี เสียง ตระการตา ชมประวัติ อารยธรรมจีนอันยิ่งใหญ่หนึ่งในอารยธรรมสำคัญของโลก ตำนานการกำเนิดโลก กำเนิดมนุษย์ กำเนิดปฐมอาณาจักรจีน ประวัติศาสตร์ราชวงศ์ต่างๆ ทุกสมัย และความเป้นมาของพี่น้องชาวจีนในประเทศไทย
1. ห้องฉายภาพยนตร์
2. ห้องเทพนิยาย (กำเนิดโลก) ชาวจีนเชื่อว่าโลกถูกสร้างขึ้นโดยเทพบิดร "ผานกู่" ซึ่งสละชีวิตแยกแผ่นดินแผ่นฟ้าออกจากกัน ธรรมชาติต่างๆ เป็นต้นว่า พระอาทิตย์ พระจันทร์ ขุนเขา สายน้ำ ฯลฯ มาจากเลือดเนื้อ ร่างกายของ "ผานกู่" สรรพสิ่งทั้งปวงในโลกนี้ ล้วนกำเนิดจากที่มาเดียวกัน
3. ห้องเทพนิยาย (กำเนิดมนุษย์) เทพธิดาหนี่วาปั้นมนุษย์ชาย - หญิงคู่แรก ซึ่งเป้นบรรพบุรุษของพี่น้องชาวจีน ขึ้นจากดินแม่น้ำเหลืองแล้วทรงชุบเสกให้มีชีวิต สืบลูกหลานต่อมาถึงปัจจุบัน เป็นเหตุผลว่าทำไมชาวจีนถึงมีผิวเหลือง
4. ห้องตำนาน (เสินหนง) บิดาแห่งสมุนไพร เชื่อกันว่าเป็นบุคคลเดียวกับเอี๋ยนตี๋ 1 ใน 2 ปฐมกษัตริย์จีน และยังเป็นผู้ค้นพบใบชาซึ่งกลายมาเป็นเครื่องดื่มประจำชาติจีนในปัจจุบัน
5. ห้องตำนาน (ปฐมกษัตริย์) "หวงตี้" - "เอี๋ยนตี้" 2 ผู้นำชนเผ่า ผู้ร่วมก่อร่างสร้างแผ่นดินจีน เมื่อ 5,000 ปี ที่ผ่านมา ถือเป็นปฐมกษัตริย์ที่ชาวจีนยกย่องให้เป็นบรพบุรุษ เรียกตนเองว่า "ลูกหลานเอี๋ยน - หวง"
6.ห้องพระราชวงศ์เซี่ย - ซาง ตำนานปลาหลีฮื้อกลายเป็นมังกร "ต้าอวี่" ผู้ค้นพบการแก้ปัญหาอุทกภัยแม่น้ำเหลืองยุคแห่งการค้นพบสำริด และอักษรกระดอกเต่าอักษรจีนยุคแรกในประวัติศาสตร์
7. ห้องราชวงศ์โจว ยุคแห่งนักคิด นักปราชญ์ "ร้อยสำนักประชัน" เล่าจื้อ ผุ้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า ซุนอู่ ผู้แต่งตำราพิชัยสงคราม "รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง" ไซซ๊ 1 ใน 4 หญิงงามผู้ได้รับการเปรียบเปรยว่า "มัจฉาจมวารี" ขงจื้อ ผู้สอนให้มนุษย์ปฏิบัติต่อกันด้วยความรัก คำสอนของขงจื้อยังคงอิทธิพลต่อชาวจีนถึงปัจจุบัน ฌีหยวน กวีผู้รักชาติ ต้นกำเนิดขนมบะจ่างและประเพณีการแข่งเรือมังกร
8. ห้องราชวงศ์ฉิน จิ๋นซีฮ่องเต้ ฮ่องเต้องค์แรกในประวัติศาสตร์ผู้สร้างกำแพงเมืองจีน สิ่งก่อสร้างอันน่ามหัศจรรย์ สุสานทหารดินเผาที่เลื่องลือไปทั่วโลก ผู้ปฏิรูปให้อักษรจีน และระบบเงินตราหลากหลายรูปแบบเป็นมาตรฐานเดียวกัน
9. ห้องราชวงศ์ฮั่น ยุคแห่งความรุ่งเรือง และความภาคภูมิใจทำให้ชาวจีนเรียกตนเองว่า "ชาวฮั่น" จุดเริ่มของศาสนาพุทะนิกายมหายานในประเทศจีน เส้นทางสายแพรไหมที่เชื่อมต่อการค้าของโลกยุคโบราณ ยุคแห่งการค้นพบกระดาษ และหวังเจาจวิน หญิงงามผู้ได้รับการเปรียบเปรยว่า "ปักษีตกนภา"
10. ห้องสามก๊ก จากวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์อันเป็นอมตะ ซึ่งแต่งขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง บอกเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปลายราชวงศ์ฮั่น ช่วงที่แผ่นดินจีนแตกออกเป็นสามก๊ก นำเสนอเหตุการณ์สำคัญที่ได้รับการเล่าขานกันต่อมาไม่รู้จบยุทะนาวีที่ผาแดง "โจโฉแตกทัพเรือ"
11. ห้องราชวงศ์สุย ปกครองแผ่นดินจีนเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ ฝากผลงานสำคัญไว้ในแผ่นดินคือการขุดคลอง "ต้าอวิ่นเหอ" นับพันกิโลเมตร ถือเป็นคลองขุดที่ยาวที่สุดในประเทศจีน เพื่อเป็นเส้นทางประพาสของฮ่องเต้ กระทั้งกลายเป็นเส้นทางการค้าทางน้ำที่สำคัญที่สุดในเวลาต่อมา
12. ห้องราชวงศ์ถัง ยุคแห่งความรุ่งเรือง เฟื่องฟู ตำนาน วัดเส้าหลิน แหล่งกำเนิดวิทยายุทธ์ที่สืบทอดจากปรมาจารย์ตั๊กม้อบูเชคเทียนฮ่องเต้หญิง องค์แรกและองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีน หยางกุยเฟย หญิงงามผุ้ได้รับการเปรียบเปรยว่า "มวลผกาละอายนาง"
13.ห้องราชวงศ์ซ่งเหนือ (เปาบุ้นจิ้น) ผู้ทรงความยุติธรรมแห่งศาลไคฟง ตำนานแห่งเครื่องประหารหัวสุนัข พยัคฆ์ และมังกร ชมการตัดสินคดีประหารราชบุตรเขยอันตื่นเต้น เร้าใจ
14. ห้องราชวงศ์ซ่งใต้ (งักฮุย) ขุนพลผู้รักชาติ ถูกกังฉินใส่ร้ายจนเสียชีวิตด้วยสุราพิษพระราชทาน ที่มาแห่งขนมปาท่องโก๋ หรือ "อิ้วจาก้วย" ที่ใช้แป้งเป็นสัญลักษณ์แทนกังฉินผัวเมียนำมาทอดน้ำมันขบเคี้ยวระบายความ แค้น
15. ห้องราชวงศ์หยวน เมื่อชาวจีนถูกปกครอง โดยพวกดมองโลกอย่างกดขี่ จึงรวมตัวกันลุกฮือขึ้นต่อต้าน สอดสาส์นลับใส่ขนมเพื่อนัดหมายก่อการโค่นล้มมองโกล ตำนานที่มาแห่งขนมไหว้พระจันทร์ ชมสะพานมาร์โคโปโลสถานที่สำคัญในประวัติศาสตร์ และหมู่บ้านจำลองที่มีอายุราว 700 ปี
16.ห้องราชวงศ์หมิง (เจิ้งเหอ) เจิ้งเหอ มหาขันทีผู้รับบัญชาฮ่องเต้ ผู้นำกองเรือมหาสมบัติ "เป่าฉวน" พร้อมลูกเรือกว่า 20,000 ชีวิต ออกสมุทรยาตราทั่วโลกถึง 7 ครั้ง ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเดินเรือคนสำคัญของโลก ตำนานแห่งเทพเจ้าซำปอกง
17. ห้องราชวงศ์หมิง (เครื่องลายคราม) เครื่องกระเบื้องเคลือบสีขาวเขียนลายน้ำเงิน เอกลักษณ์อันโดดเด่นที่รู้จักกันทั่วโลก ชมการจัดสวนสไตล์จีน และเครื่องเรือนอันงดงามด้วยศิลปะ
18.ห้องราชวงศ์ชิง (โรงงิ้ว - โรงฝิ่น) งิ้วหรืออุปรากรจีน เป็นศิลปะการแสดงอันงดงามวิจิตร ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นนาฏศิลป์สำหรับแขนงหนึ่งของโลก ชมเหตุการณ์ปลายราชวงศ์ชิงเมื่อฝิ่นกลายเป็นสาเหตุที่ทำให้ชาวจีนกลายเป็นคน ป่วยแห่งเอชียตะวันออกก่อให้เกิดสงครามฝิ่นอันนำไปสู่การปล่อยเกาะฮ่องกงให้ เช่านานถึง 99 ปี
19.ราชวงศ์ชิง (จักรพรรดิ์องค์สุดท้าย) "ปูยี" ฮ่องเต้วัย 3 ชันษา จากการแต่งตั้งของซูสีไทเฮา ฮ่องเต้องค์สุดท้ายในประวัติศาสตร์ผู้ปิดตำนานการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ "โอรสแห่งสวรรค์" อันยาวนานกว่า 2,000 ปี
20. ห้องยุคสาธารณรัฐ จากซุนยัดเซ็นผู้นำการปฏิวัติ โค่นล้มระบอบฮ่องเต้ เปลี่ยนจีนเข้าสู่ยุคสาธารณรัฐมาถึงเหมาเจ๋อตุงผู้นำประเทศจีนเข้าสู่ สังคมนิยม เปลี่ยนผ่านสู่เติ้งเสี่ยวผิง ผู้ปฏิวัติจีนสู่ยุค 4 ทันสมัย กระทั่งกลายเป็นมหาอำนาจของโลกประเทศหนึ่งในปัจจุบัน
21. ห้องชาวไทยในประเทศสยาม ประวัติความเป้นมาของพี่น้องชาวไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทย ต้นกำเนิดตระกูลแซ่ต่างๆ จากบรรพชนสู่อภิชาตบุตรลงหลักปักฐาน สร้างฐานะเป็นปึกแผ่นภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ความภาคภูมิใจของลูกหลานพันธุ์มังกร

เส้นทางสู่อุทยานมังกรสวรรค์
- รถยนต์ส่วนตัว มีเส้นทางที่สะดวกที่สุดคือใช้ถนนรัตนาธิเบศร์ ที่เชื่อมกับวงแหวนรอบนอก (ถนนกาญจนาภิเษก) ไปทางอำเภอบางบัวทอง จากนั้นเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 340 ผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุทธยาเข้าสู่เขตจังหวัดสุพรรณบุรีที่อำเภอบางปลาม้า ถนนเข้าเมืองสุพรรณบุรี เป็นถนนสี่เลนกว้างขวางและสะอาดตา
- รถโดยสารประจำทาง สามารถใช้บริการของรถโดยสารประจำทาง ซึ่งออกจากสถานีขนส่งหมอชิต (ถนนกำแพงเพชร) และสถานีขนส่งสายใต้ (ถนนบรมราชชนนี) ทุกวัน
- รถไฟ ถ้าต้องการบรรยากาศการท่องเที่ยวโดยรถไฟ การรถไฟแห่งประเทศไทยก็มีขบวนรถไฟไปยังจังหวัดสุพรรณบุรี รถออกเวลา 16.40 น. ทุกวัน ใช้เวลาเดินทางประมาณ 3 ชั่วโมง
- รถสองแถว (บริการเฉพาะภายในตัวเมืองสุพรรณ) การเดินทางในตัวเมืองสุพรรณมีรถสองแถวให้บริการ โดยขึ้นบริเวณสี่แยกนางพิม หากต้องการเดินทางออกนอกตัวเมืองติดต่อสอบถามที่คิวรถบริเวณสี่แยกนางพิมได้ เลย

คำแนะนำ - ข้อปฏิบัติ - อัตราค่าเข้าชม
วัน เวลาเข้าชมอุทยานมังกรสวรรค์
เปิดวันพุธ - วันอาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 - 16.00 น.
อัตราค่าเข้าชม ชาวไทย ผู้ใหญ่ : 299 บาท
เด็ก : 149 บาท

ชาวต่างชาติ ผู้ใหญ่ : 499 บาท
เด็ก : 299 บาท

ข้อปฏิบัติ
ควรปฏิบัติตามกฎระเบียบของพิพิธภัณฑ์อย่างเคร่งครัด ดังต่อไปนี้
- ไม่หยอกล้อหรือเล่นกันภายในพิพิธภัณฑ์
- ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นภายในพิพิธภัณฑ์
- ไม่นำอาหารเข้ามาภายในพิพิธภัณฑ์
- ไม่นำสัตว์เลี้ยงเข้ามาภายในพิพิธภัณฑ์
- ไม่หยิบจับของภายในพิพิธภัณฑ์

เบอร์โทรสำคัญ
- การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย Call Center 1672
- ศูนย์ประสานงานการท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โทร. 0 3553 6030
- ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี : พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร โทร. 0 3552 6211
- ประชาสัมพันธ์จังหวัดสุพรรณบุรี โทร. 0 3540 8220, 0 3553 8200
- สำนักงานจังหวัดสุพรรณบุรี โทร. 0 3553 5376
- เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี โทร. 0 3551 1987, 0 3551 1021
- สถานีขนส่งสายใต้ โทร. 0 2894 6122
- สถานีขนส่งสุพรรณบุรี โทร. 0 3552 2373
- สถานีรถไฟสุพรรณบุรี โทร. 0 3551 1950

หอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 21

หอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 ตั้งอยู่ริมถนนสุพรรณบุรี – ชัยนาท ทางหลวงหมายเลข 340 ตำบลสนามชัย ภายในศูนย์ราชการกรมศิลปากร เกิดขึ้นจากความร่วมแรงร่วมใจของพี่น้องประชาชน ชาวจังหวัดสุพรรณบุรีร่วมกันบริจาคเงินก่อสร้างโดยไม่ได้ใช้งบประมาณของทาง ราชการ ดำเนินการออกแบบโดยกรมศิลปากร มีลักษณะเป็นอาคาร 2 ชั้น ภายในจัดแสดงประวัติและผลงานของ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา ตั้งแต่วัยเด็กกระทั่งได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หอเกียรติยศ ฯ ประกาศจัดตั้งเป็นหน่วยงานหนึ่งของสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถานที่ศึกษาด้านประวัติศาสตร์การเมืองไทย และเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิตแก่เยาวชน
อาคารจัดแสดงชั้นที่ 1 จำลองบรรยากาศร้าน “ย่ง หยู ฮง” ในตลาดสุพรรณบุรี ประมาณ พ.ศ. 2487 แสดงภาพชีวิตวัยเด็กและหน้าที่รับผิดชอบที่เด็กชายบรรหารในวัย 12 ปี มีต่อครอบครัว เรื่องราวของนักสู้ชีวิตจากสุพรรณบุรีที่ช่วยพี่ชายทำงานจนกระทั่งภายหลัง ประกอบธุรกิจเป็นของตนเอง จนมีฐานะมั่นคง การจัดแสดงช่วงเวลาสำคัญต่างๆ ในชีวิตของนายบรรหารก่อนเข้าสู่การเมือง เช่น อุปสมบท สมรส และจัดแสดงผลงานด้านต่างๆ ที่นายบรรหารให้ความช่วยเหลือและพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี ชีวิตทางการเมือง รวมทั้งบทบาททางการเมือง
อาคารจัดแสดงชั้นที่ 2 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้นายบรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 21 การจัดแสดงผลงานและนโยบายสำคัญของรัฐบาล ขณะ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตลอดจนเกียรติคุณต่างที่ท่านได้รับ หอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 เปิดให้บริการวันพุธ – วันอาทิตย์ เวลา 09.00 – 16.00 น. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โทร. 0 3553 5119 - 21 โทรสาร 0 3553 5120

บึงฉวาก

บึงฉวากเฉลิมพระเกียรต

เป็นบึงน้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 2,700 ไร่ อยู่ห่างจากตัวอำเภอเมืองสุพรรณประมาณ 64 กิโลเมตร บึงฉวากมีพื้นที่ติดต่อกับอำเภอหันคา จังหวัดชัยนาทและอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนที่อยู่ในเขตอำเภอเดิมบางนางบวชมีพื้นที่ประมาณ 1,700 ไร่ บึงฉวากได้รับประกาศให้เป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่ามาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 และในปีพ.ศ. 2541 ได้รับการจัดให้เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับชาติตามอนุสัญญาแรม ซาร์ที่ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคี เนื่องจากความหลากหลายของพันธุ์พืชและสัตว์ที่มีในบึง ลักษณะที่เรียกว่าเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำตามอนุสัญญาแรมซาร์ คือ พื้นที่ลุ่ม พื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ฉ่ำน้ำ มีน้ำท่วม น้ำขัง พื้นที่พรุ พื้นที่แหล่งน้ำ ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้าง ทั้งที่มีน้ำขังหรือน้ำท่วมถาวรและชั่วคราว ทั้งแหล่งน้ำนิ่งและน้ำไหล แหล่งน้ำจืด น้ำกร่อยและน้ำเค็ม รวมไปถึงพื้นที่ชายฝั่งทะเลและทะเลในบริเวณซึ่งเมื่อน้ำลดต่ำสุด น้ำลึกไม่เกิน 6 เมตร ซึ่งบึงฉวากเข้าข่ายลักษณะดังกล่าว คือเป็นบึงน้ำจืดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีความลึกเฉลี่ยประมาณ 1–3 เมตร พื้นที่บึงฉวากอยู่ในความดูแลของหน่วยราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตรและอุตสาหกรรม เป็นต้น

ริมบึงฉวากมีบรรยากาศร่มรื่น ลมพัดเย็นสบายตลอด ในบริเวณบึงเต็มไปด้วยดอกบัวสีแดงและชมพู ในช่วงตอนเช้าบัวจะบานสวยงาม นกเป็ดแดงฝูงใหญ่จับกลุ่มอยู่ตามกอบัวในช่วงฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคมและนกจะทยอยกลับในช่วงเดือนเมษายน มีศาลาสำหรับเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน มีบริการขี่จักรยานน้ำ นักท่องเที่ยวสามารถขออนุญาตกางเต็นท์พักแรมริมบึง ปัจจุบันกำลังมีการพัฒนาบึงฉวากให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของจังหวัด สุพรรณบุรี มีสถานที่ท่องเที่ยวน่าสนใจอยู่ในความดูแลเช่น

สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ เป็นหน่วยงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี ภายในอาคารแสดงพันธุ์สัตว์น้ำรวบรวมพันธุ์ปลาน้ำจืด ปลาสวยงามและพันธุ์ปลาหายากเอาไว้ให้ประชาชนได้ศึกษา แบ่งเป็น 3 อาคาร
อาคารแสดงสัตว์น้ำหลังที่ 1 จัดแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืดและสัตว์น้ำเค็ม ทั้งพันธุ์ปลาไทย และพันธุ์ปลาต่างประเทศกว่า 50 ชนิดเช่น ปลาบึก ปลากระโห้ ปลาม้า ปลากราย ปลาช่อนงูเห่า ปลาเสือตอ เป็นต้น
อาคารแสดงสัตว์น้ำหลังที่ 2 ประกอบด้วยตู้ปลาขนาดใหญ่สวยงามบรรจุน้ำได้กว่า 400 ลูกบาศก์เมตร และมีอุโมงค์ความยาวประมาณ 8.5 เมตร ผู้ชมสามารถเดินลอดผ่านใต้ตู้ปลาได้บรรยากาศเหมือนอยู่ใกล้สัตว์น้ำ ซึ่งถือว่าเป็นอุโมงค์ปลาน้ำจืดแห่งแรกของประเทศไทย มีนักประดาน้ำหญิงสาธิตการให้อาหารปลา นอกจากนั้นโดยรอบยังมีตู้ปลาน้ำจืดอีก 30 ตู้ และตู้ปลาทะเลสวยงามอีก 7 ตู้ การแสดงตู้ปลาใหญ่มีเฉพาะในวันเสาร์ อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ มี 4 รอบ ตั้งแต่เวลา 10.30-16.00 น. สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ เปิดให้เข้าชมทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ ค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก 10 บาท วันจันทร์-ศุกร์ เปิดเวลา 08.30–17.00 น. วันเสาร์ - อาทิตย์ เปิดเวลา 08.30–18.00 น. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3543 0043-4, 0 3543 0033 โทรสาร 0 3543 9208
อาคารสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำหลังที่ 3 (สวรรค์แห่งโลกใต้ทะเล) จัดแสดงพันธุ์ปลาทะเลมากมายหลายชนิดให้ได้ชมกัน มีตู้ปลาขนาดใหญ่ และตู้ปลารูปทรงแปลกตา เพื่อคอยบริการนักท่องเที่ยวให้ได้ชื่นชมกับความสวยงาม และบรรยากาศของโลกใต้ท้องทะเล รวมทั้งตื่นตาตื่นใจกับอุโมงค์ปลา และบันไดเลื่อน ขนาดความยาว 75 เมตร เพื่อให้ได้ศึกษาสภาพความเป็นอยู่ของสัตว์ทะเลอย่างใกล้ชิด รวมทั้งบ้านของเจ้าแห่งท้องทะเล หรือ ปลาฉลามอีกจำนวนมาก สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ เปิดให้เข้าชมทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ ค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 180 บาท เด็ก 50 บาท วันจันทร์-ศุกร์ เปิดเวลา 08.30-17.00 น. วันเสาร์-อาทิตย์ เปิดเวลา 08.30-18.00 น. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3543 0043-4, 0 3543 0033 โทรสาร 0 3543 9208

เวทีริมบึง มีการแสดงทางศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านของนักเรียน นักศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี นำการแสดงศิลปะพื้นบ้านที่หาดูได้ยากมาให้ชมในช่วงวันหยุดเทศกาล

บ่อจระเข้น้ำจืด เป็นบ่อจระเข้ที่ได้จำลองให้มีสภาพใกล้เคียงกับธรรมชาติมากที่สุด พื้นที่ประมาณ 3 ไร่ มีจระเข้น้ำจืดพันธุ์ไทยขนาด 1.5–4.0 เมตร ประมาณ 60 ตัว ซึ่งผู้ชมจะได้เห็นความเป็นอยู่แบบธรรมชาติของจระเข้และสามารถเข้าชมอย่าง ใกล้ชิด มีการแสดงจระเข้วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ รอบ 11.00 น., 12.30 น., 14.00 น. และ 15.30 น.

ในส่วนของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มีศูนย์พัฒนาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก สร้างขึ้นเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทรงครองราชย์เป็นปีที่ 50 ประกอบไปด้วย อาคารศูนย์บริการนักท่องเที่ยว จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ การดูนก สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมาของบึงฉวาก มีตู้จำลองระบบนิเวศ ห้องฉายสไลด์วิดีทัศน์ ด้านนอกอาคารมี กรงเลี้ยงนก ขนาดใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 5 ไร่ สูง 25 เมตร ภายในกรงได้รับการตกแต่งให้ดูคล้ายสภาพธรรมชาติ ประกอบด้วยนกกว่า 45 ชนิด ที่น่าสนใจได้แก่ นกกาบบัว นกเป็ดแดง ไก่ฟ้าพญาลอ และไก่ฟ้าสีทอง ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นไก่ฟ้าที่มีความสวยงามที่สุดในโลก มีการจำลองน้ำตกขนาดเล็กเอาไว้ภายในกรง ผู้เข้าชมจะเดินตามทางเดินที่จัดไว้และได้สัมผัสใกล้ชิดกับนกต่างๆ ที่ปล่อยให้มีชีวิตอยูในสภาพแบบธรรมชาติเดินผ่านหน้าเราไป หากเดินถัดไปจากกรงนก จะเป็นกรงเสือขนาดใหญ่ กรงเสือขนาดเล็ก มีเสือชนิดต่างๆให้ชมและ ที่พิเศษคือ มีลูกเสือดูดนมหมู และสัตว์สวยงามอีกหลายชนิด สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ศูนย์พัฒนาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก เปิดทุกวัน จันทร์-ศุกร์ 08.00–16.30 น. เสาร์-อาทิตย์ 08.00–18.00 น. โทร. 0 3543 9206, 0 3543 9210 สำนักงานเขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงฉวาก โทร. 0 3548 1250

กรงเสือและสิงโต ลักษณะภายในตกแต่งเป็นถ้ำและเนินหินให้ดูคล้ายสภาพธรรมชาติ ซึ่งเป็นกรงเลี้ยงสัตว์ป่าตระกูลแมว อันได้แก่ สิงโต เสือโคร่ง เสือลายเมฆ เสือดาว แมวดาว เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีกรงสัตว์ป่าหายากอีกหลายประเภทที่จัดแสดงไว้ เช่น นกน้ำ นกยูงและไก่ฟ้าชนิดต่างๆ ม้าลาย อูฐ และนกกระจอกเทศ เป็นต้น สำนักงานเขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงฉวาก โทร. 0 3548 1250 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ศูนย์พัฒนาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก โทร. 0 3548 1250

เกาะกระต่าย พื้นที่คล้ายเกาะ สร้างเป็นที่พักของกระต่าย 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์เจอร์ซี่ วูลลี่ และสายพันธุ์แองโกร่า ที่มีความน่ารักและสวยงาม รวมทั้งยังมีกวางดาว เน้อทราย และจากสาเหตุที่เป็นเกาะมีพื้นที่น้ำล้อมรอบ จึงเลี้ยงปลาไว้ในกระชังอีกจำนวนมาก เพื่อให้ผู้คนได้พักผ่อนอีกประเภทหนึ่ง โดยการให้อาหาร เช่น ปลาทอง ปลาคาร์ฟ ปลาสวายเผือก ฯลฯ ศูนย์พัฒนาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก เปิดทุกวัน จันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00–16.30 น. เสาร์-อาทิตย์ เวลา 08.00–18.00 น.

ศูนย์จำหน่ายสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ อาคารสองชั้นติดกรงนกขนาดใหญ่ รวบรวมสินค้าทั้งของกินและของใช้จากจังหวัดสุพรรณบุรีมาไว้ที่นี่ นอกจากจะแสดงสินค้าภายในจังหวัดแล้ว ยังรวบรวมสินค้าจากจังหวัดใกล้เคียงมาไว้ในอาคารนี้อีกด้วย

โรงสีชุมชน สถานที่รับรองผลผลิตของเกษตรกรชาวนาที่ปลูกข้าวปลอดสารพิษ นำผลผลิตที่ได้มาส่งให้โรงสีขนาด 5 ก.ก. ต่อชั่วโมง เพื่อแปรรูปเป็นข้าวสารปลอดสารพิษบึงฉวาก ออกจำหน่ายเพื่อเป็นรายได้เสริมของเกษตรกร และอีกทางเลือกหนึ่งของผู้บริโภค

อุทยานผักพื้นบ้านเพื่อการยังชีพ เฉลิมพระเกียรติบึงฉวาก อยู่ในความดูแลของกรมส่งเสริมการเกษตร จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนทั่วไปเห็นคุณค่าและอนุรักษ์ผัก พื้นบ้าน โดยรวบรวมผักพื้นบ้านจากทั่วภูมิภาคของประเทศไทยกว่า 500 ชนิด มาปลูกไว้ในบริเวณเกาะกลางบึงฉวาก มีทั้งสมุนไพร ไม้ยืนต้น ไม้เลื้อย ไม้ล้มลุก และไม้ชื้นแฉะที่น่าสนใจได้แก่ น้ำเต้าสี่เหลี่ยม บวบหอมขนาดใหญ่ อุโมงค์น้ำพุ และการจัดสวนไม้ประดับด้วยผักพื้นบ้าน นอกจากนั้นยังมีโรงปลูกพืชระบบระเหยน้ำ และสาธิตการปลูกพืชไร้ดินจัดแสดงให้ชมด้วย และมีห้องสมุดบริการคอมพิวเตอร์สำหรับค้นคว้าข้อมูลพันธุ์ผักต่างๆ ห้องนิทรรศการแสดงผลผลิตทางการเกษตร ศูนย์บริการท่องเที่ยวเกษตรอุทยานผักพื้นบ้านฯ เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่เวลา 08.30-18.00 น. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 08 1948 9214, 08 9836 1358 โทร. 0 3543 0011 หรือ สำนักงานเกษตร อำเภอเดิมบางนางบวช โทร. 0 3554 5450, 0 3555 5455

การเดินทาง จากถนนสายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี (ทางหลวงหมายเลข 340) เมื่อถึงอำเภอเดิมบางนางบวช สามารถเข้าไปได้ 2 ทาง คือ เมื่อถึงสี่แยกทางเข้าตัวอำเภอเดิมบางนางบวช เลี้ยวซ้ายขึ้นสะพานข้ามแม่น้ำท่าจีน ตรงไปจนพบสามแยกตัดกับถนนเลียบคลองชลประทาน ให้เลี้ยวขวาไปตามถนนเลียบคลองชลประทาน

อีกเส้นทางหนึ่งไปตามทางหลวงหมายเลข 340 หลักกิโลเมตรที่ 147 ด้านซ้ายมือจะเห็นโรงเรียนวัดเดิมบางนางบวช ให้เลี้ยวซ้ายเข้าซอยข้างโรงเรียน ข้ามแม่น้ำแล้วตรงไปเรื่อยๆ เมื่อถึงสามแยกตัดกับถนนเลียบคลองชลประทานให้เลี้ยวขวาไปตามถนน จนพบสะพานข้ามคลองชลประทานด้านซ้ายมือ ให้เลี้ยวซ้ายข้ามสะพานแล้วตรงไปเรื่อยๆ จะเห็นบึงฉวาก

พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์

อยู่ที่ตำบลดอนเจดีย์ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 31 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 322 (สุพรรณบุรี-ดอนเจดีย์) ประกอบด้วย พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงพระคชาธารออกศึก และ องค์เจดีย์ยุทธหัตถี สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงสร้างเจดีย์ขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะในสงคราม ยุทธหัตถีที่ทรงมีต่อพระมหาอุปราชาแห่งพม่าเมื่อเดือนมกราคมในปี พ.ศ.2135 และในปี พ.ศ. 2495 กองทัพบกได้บูรณะปฏิสังขรณ์องค์เจดีย์ขึ้นใหม่ โดยสร้างเป็นเจดีย์แบบลังกาทรงกลมใหญ่ สูง 66 เมตร ฐานกว้างด้านละ 36 เมตร ครอบเจดีย์องค์เดิมไว้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงเสด็จไปประกอบพิธีบวงสรวงและเปิดพระบรมรา ชานุสรณ์ดอนเจดีย์เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2502 ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดให้วันที่ 25 มกราคม ของทุกปี ต่อมาทางราชบัณฑิตได้คำนวณแล้วพบว่าวันทางจันทรคติที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกระทำยุทธหัตถี คือวันจันทร์เดือน 2 แรม 2 ค่ำ จุลศักราช 954 ตรงกับวันที่ 18 มกราคม จึงเปลี่ยนวันดังกล่าวเป็นวันถวายราชสักการะพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์และ ถือเป็นวันกองทัพไทย พร้อมกันนั้นทางจังหวัดได้จัดให้มีงานเฉลิมฉลองพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ ทุกปี
เลยจากเจดีย์ไปประมาณ 100 เมตร เป็นที่ตั้งของ พระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายในมีรูปปั้นของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระสุพรรณกัลยา มีผู้นิยมไปสักการะบูชาอยู่เสมอ

หอคอยบรรหาร-แจ่มใส และ สวนเฉลิมภัทรราชินี

ตั้งอยู่ถนนนางพิม เป็นสวนสาธารณะมีเนื้อที่ 17 ไร่ ในสวนมีสถานที่ต่างๆให้แวะชมไม่ว่าจะเป็นหอคอยบรรหาร-แจ่มใส อาคารแสดงผลงานของฯพณฯบรรหาร สวนน้ำพร้อมสไลเดอร์ สวนลายไทย สวนนกพิราบ สวนดอกไม้ สนามเด็กเล่น น้ำพุดนตรี สนามออกกำลังกาย ประชาชนนิยมมาเดินเล่นและออกกำลังกายในสวนตอนเย็นๆ เวลากลางคืนจะมองเห็นหอคอย เปิดไฟเป็นจุดเด่นของเมืองสุพรรณบุรี
สวนเฉลิมภัทรราชินี เปิดให้เข้าชมทุกวัน เว้นวันจันทร์ ตามวัน และเวลาดังนี้
วันอังคาร-ศุกร์ เวลา 10.00-19.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-20.30 น.
อัตราค่าเข้า ผู้ใหญ่ 10 บาท เด็ก 5 บาท

อาคารแสดงผลงานฯ เปิดให้เข้าชมทุกวัน เว้นวันจันทร์ ตามวัน และเวลาดังนี้
วันอังคาร-ศุกร์ เวลา 13.00–18.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00–18.00 น.

สไลเดอร์และสวนน้ำ เปิดให้บริการทุกวัน เว้นวันจันทร์ ตามวัน และเวลาดังนี้
วันอังคาร-ศุกร์ เวลา 15.00–18.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00–18.00 น.

น้ำพุดนตรี และผาน้ำตก เปิดทุกวันตามวัน และเวลาดังนี้
วันศุกร์ เวลา 17.00–19.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์
รอบเที่ยง เวลา 12.00–14.00 น.
รอบเย็น เวลา 17.00–19.00 น.

หอคอยบรรหาร-แจ่มใส และ สวนเฉลิมภัทรราชินี

หอคอยบรรหาร-แจ่มใส ตั้งอยู่ในสวนเฉลิมภัทรราชินี เป็นหอคอยชมวิวแห่งแรก และสูงที่สุดในประเทศไทยมองเห็นโดดเด่นอยู่กลางเมือง มีความสูงถึง 123.25 เมตร ฐานกว้าง 30 เมตร การขึ้นเที่ยวชมหอคอย จะมีจุดแวะพักชมวิว 4 ชั้น ชั้นที่ 1 เป็นที่จำหน่ายบัตรและของที่ระลึก ชั้นที่ 2 เป็นร้านจำหน่ายเครื่องดื่มอาหารว่างและจุดนั่งชมสวน ชั้นที่ 3 เป็นร้านจำหน่ายของที่ระลึกและจุดชมตัวเมือง ชั้นที่ 4 อยู่ในระดับสูงสุด 78.75 เมตร เป็นจุดชมทิวทัศน์ของจังหวัดสุพรรณบุรีโดยรอบ มีกล้องส่องทางไกลบริการ ผนังห้องแสดงภาพวาดสีน้ำมันเกี่ยวกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

หอคอยบรรหาร-แจ่มใส เปิดให้เข้าชมทุกวัน เว้นวันจันทร์ ตามวัน และเวลาดังนี้
วันอังคาร-ศุกร์ เวลา 10.00-19.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-20.30 น.
อัตราค่าขึ้นชม (ก่อน 18.00 น.) ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก 15 บาท
อัตราค่าขึ้นชม (หลัง 18.00 น.) ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 20 บาท

ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3552 2721, 0 3552 4060-4 และสำนักงานเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี โทร. 0 3551 1987, 0 3551 1021 โทรสาร. 0 3552 2973

ตลาดสามชุก หรือตลาดริมน้ำร้อยปี

ตลาดสามชุก หรือตลาดริมน้ำร้อยปี ตั้งอยู่ริมทางหลวงหมายเลข 340 แยกเข้าอำเภอสามชุก อยู่ริมแม่น้ำท่าจีนติดกับที่ว่าการอำเภอสามชุก เป็นชุมชนชาวจีนเก่าแก่ที่ยังคงสภาพบ้านเรือน และตลาดแบบดั้งเดิม สิ่งที่น่าสนใจได้แก่อาคารพิพิธภัณฑ์ เป็นอาคารไม้โบราณติดลูกไม้ขนาด 3 ชั้นของขุนจำนงค์ จีนารักษ์ นายภาษีเก่า ซึ่งท่านเจ้าของตลาดมอบให้เป็นแหล่งรวบรวมภาพถ่ายวิถีชีวิตของผู้คนในสมัย ก่อน ร้านถ่ายรูปโบราณที่ยังมีกล้องถ่ายภาพเก่าแก่อายุกว่าร้อยปีให้บริการ ร้านขายยาสมุนไพร และเพลิดเพลินกับขนม อาหารพื้นเมือง และกาแฟโบราณที่ยังใช้เครื่องคั่วกาแฟแบบดั้งเดิมบริเวณริมน้ำ สอบถามข้อมูล โทร 0 3550 4498

วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร
ตั้งอยู่ที่ริมถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรี เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่หน้าบันของวิหารวัดป่าเลไลยก์มีเครื่องหมายพระมหามกุฎอยู่ ระหว่างฉัตรคู่ บอกให้ทราบว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จธุดงค์มาพบสมัยยังทรงผนวชอยู่ เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์แล้วจึงทรงมาปฏิสังขรณ์ สันนิษฐานว่าวัดนี้สร้างในสมัยที่เมืองสุพรรณบุรีรุ่งเรือง ในพงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระเจ้ากาแตทรงให้มอญน้อยมาบูรณะวัดป่าเลไลยก์ภายหลัง พ.ศ. 1724 ที่วัดแห่งนี้ประชาชนนิยมมานมัสการ “หลวงพ่อโต” ซึ่งประดิษฐานอยู่ในวิหารสูงเด่นเห็นแต่ไกล เป็นพระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์ ศิลปะสมัยอู่ทองสุพรรณภูมิมีลักษณะประทับนั่งห้อยพระบาท พระหัตถ์ซ้ายวางคว่ำบนพระชานุ พระหัตถ์ขวาวางหงายบนพระชานุอีกข้างหนึ่งในท่าทรงรับของถวาย องค์พระสูง 23.46 เมตร รอบองค์ 11.20 เมตร มีนักปราชญ์หลายท่านว่า หลวงพ่อโตเดิมคงเป็นพระพุทธรูปปางปฐมเทศนา สร้างไว้กลางแจ้งเหมือนพระพนัญเชิงในสมัยแรกๆ เพราะมักจะพบว่า พระพุทธรูปขนาดใหญ่ที่สร้างในสมัยก่อนอยุธยาและอยุธยาตอนต้น ส่วนมากชอบสร้างไว้กลางแจ้งเพื่อให้สามารถมองเห็นได้แต่ไกล ภายในองค์พระพุทธรูปนี้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้มาจากพระมหาเถรไลยลาย จำนวน 36 องค์ หลวงพ่อโตเป็นที่เคารพนับถือของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดใกล้ เคียง ทุกปีจะมีงานเทศกาลสมโภชและนมัสการหลวงพ่อวัดป่าเลไลยก์ 2 ครั้ง คือ ในวันขึ้น 7-9 ค่ำ เดือน 5 และเดือน 12
ตรงข้ามวิหารวัดมีร้านขายสินค้าที่ระลึกพื้นเมืองหลายร้านให้แวะเลือกซื้อ ด้านหลังวัดมี “คุ้มขุนช้าง” ซึ่งสร้างเป็นเรือนไทยไม้สักหลังใหญ่กว้างขวาง ตามบทพรรณนาเรือนของขุนช้างในวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผน ขึ้นไปบนเรือนจะเห็นฉากภาพวาดตัวละครขุนช้างสำหรับให้นักท่องเที่ยวถ่ายรูป เป็นที่ระลึก บนเรือนแต่ละห้องมีภาพบรรยายเล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน มีตู้จัดแสดงภาชนะเครื่องใช้ไม้สอยต่างๆไม่ว่าจะเป็นฉากกั้นหรือถ้วยโถโอชาม เก่าแก่แบบต่างๆ

บ้านควาย (หมู่บ้านอนุรักษ์ควายไทย)

ตั้ง อยู่ริมทางหลวงหมายเลข 340 (สุพรรณบุรี-ศรีประจันต์) กิโลเมตรที่ 115-116 เป็นสถานที่รวบรวมวิถีชีวิตแบบพื้นบ้านภาคกลาง มีพื้นที่ 100 กว่าไร่ แบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ เช่น หมู่บ้านชาวนาแสดงวิถีชีวิตความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย มีลานนวดข้าว คอกควาย โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ บ้านเรือนไทยภาคกลาง
เรือนแต่ละหลังมีกิจกรรมสำหรับผู้สนใจ เช่น เรือนแพทย์แผนไทย การนวดแผนไทย และการใช้สมุนไพร เรือนโหราศาสตร์
มีลานแสดงควาย วันจันทร์-ศุกร์ มีการแสดงรอบ 11.00 น. และ 15.00 น. วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ มีการแสดงรอบ 11.00 น., 14.30 น. และ 16.00 น. ด้านหน้าทางเข้ามีร้านขายสินค้าที่ระลึกของบ้านควายสำหรับนักท่องเที่ยว บ้านควายเปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00–18.00 น.
ค่าเข้าชมชาวไทย ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 150 บาท เด็ก 100 บาท
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานกรุงเทพฯ โทร. 0 2270 0395-7 สำนักงานสุพรรณบุรีโทร. 0 3558 1668 หรือที่เว็บไซด์ www.buffalovillages.com

วัดแค

เป็นวัดเก่าแก่ที่มีชื่อปรากฏในวรรณคดีเรื่อง “ขุนช้างขุนแผน” อยู่ในอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุไปทางเหนือประมาณ 2 กิโลเมตร ภายในวัดนี้มีต้นมะขามใหญ่วัดโคนต้นโดยรอบได้ประมาณ 9.50 เมตร อายุประมาณ 1,000 ปี เชื่อกันว่าขุนแผนได้เรียนวิชาเสกใบมะขามให้เป็นตัวต่อตัวแตนจากต้นมะขามต้น นี้กับท่านอาจารย์คงเพื่อใช้เวลาโจมตีข้าศึก ใกล้กับต้นมะขามยักษ์นี้ทางจังหวัดได้สร้างเรือนไทยทรงโบราณเรียกว่า “คุ้มขุนแผน” เพื่อเป็นอุทยานวรรณคดีและเป็นการอนุรักษ์ศิลปด้านวรรณกรรมและประวัติศาสตร์
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยเสด็จประพาสวัดแค เมื่อ พ.ศ. 2447 วัดนี้มีโบราณวัตถุที่น่าสนใจ ได้แก่ พระพุทธบาทสี่รอย ทำด้วยทองเหลืองกว้าง 1.40 เมตร ยาว 2.80 เมตร สร้างซ้อนกันไว้ในรอยใหญ่ นอกจากนี้ยังมี พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบศิลปรัตนโกสินทร์ จีวรและอังสะเป็นลายดอกพิกุลงดงามมาก ประดิษฐานอยู่ในวิหารหน้าพระประธาน สิ่งที่น่าสนใจอื่น ๆ เช่น ระฆังทองเหลือง หม้อต้มกรักทองเหลือง ตู้ใส่หนังสือที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงถวายเมื่อปี พ.ศ. 2412
ตลาดเก้าห้อง

ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 เทศบาลตำบลบางปลาม้า ไปตามทางหลวงหมายเลข 340 กิโลเมตรที่ 87-88 (เลยแยกเข้าอำเภอบางปลาม้า ไปประมาณ 1 กิโลเมตร) เข้าไปอีกประมาณ 2.4 กิโลเมตร(ทางไปวัดลานดุก) เป็นตลาดเก่าแก่ซึ่งเป็นย่านการค้าที่รุ่งเรืองริมแม่น้ำสุพรรณบุรี หรือแม่น้ำท่าจีนเมื่อเกือบหนึ่งร้อยปีมาแล้ว ปัจจุบันยังคงเห็นสภาพตลาดริมน้ำแบบอดีตที่ยังคงได้รับการอนุรักษ์ไว้ โดยมีหอดูโจร โรงสีเก่า ศาลเจ้า และบ้านเก้าห้อง (ซึ่งอยู่ริมแม่น้ำฝั่งตรงข้ามตลาด) เป็นสิ่งก่อสร้างในอดีตที่น่าสนใจ มีการจัดทำพิพิธภัณฑ์ตลาดเก้าห้องให้ผู้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ ชุมชนแห่งนี้แม้จะเงียบเหงาไปบ้าง แต่ในทุกวันอาทิตย์ชาวบ้านจะนำสินค้าอาหารคาวหวานมาจำหน่ายแก่นักท่องเที่ยว ผู้มาเยือน มีทั้งขนมเปี๊ยะ ขนมจันอับ กระหรี่พัฟ ขนมถ้วยฟู กาแฟโบราณ ห่านพะโล้ ก๋วยเตี๋ยวเรือ ราดหน้า ผัดไทย เป็นต้น สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3558 7044, 08 1704 2183, 08 1763 4133
การเดินทาง
จากตัวเมืองสุพรรณบุรี ใช้เส้นทางสุพรรณบุรี-บางแม่หม้าย ประมาณ 9 กิโลเมตร จะมีทางแยกซ้ายมือเข้าตลาดเก้าห้อง มีลานจอดรถด้านหน้าตลาดฝั่งตรงข้ามโรงเรียนวัดบ้านหมี่ จากตัวเมืองสุพรรณบุรีมีรถประจำทางสายสุพรรณฯ-เก้าห้อง มาลงที่ตลาดเก้าห้อง

ความเป็นมา
สำหรับตลาดเก้าห้องสร้างขึ้นมาภายหลังในราวปี พ.ศ. 2465 โดยนายบุญรอด (ฮง) เหลียงพานิช คหบดีเชื้อสายจีน ซึ่งได้แต่งงานกับนางแพ หลานสาวของขุนกำแพงฤทธิ์เจ้าของบ้านเก้าห้อง
ส่วนหอดูโจร เป็นสถาปัตยกรรมแบบจีน ก่ออิฐถือปูน กว้างยาวด้านละ 3 เมตร มีความสูงราวตึก 4 ชั้น สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2477 ตามผนังทั้ง 4 ด้าน เจาะรูเล็ก ๆ ขนาด 3 นิ้ว สำหรับเอาปืนส่องยิงโจรซึ่งมีอยู่ชุกชุมในสมัยนั้น จากด้านล่างภายในหอมีบันไดเหล็กสำหรับปีนขึ้นไปยังดาดฟ้า ซึ่งสามารถมองเห็นทัศนียภาพของตลาดเก้าห้องและพื้นที่โดยรอบได้ทั้งหมด

คำว่า เก้าห้อง มาจาก บ้านเก้าห้อง เดิมเป็นบ้านของขุนกำแหงฤทธิ์ ต้นตระกูลประทีปทอง ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามตลาดเก้าห้อง อีกฝั่งหนึ่งของแม่น้ำท่าจีน เป็นเรือนไทยฝาปะกน ใต้ถุนสูง ลักษณะเป็นแนวยาว มี 9 ห้อง

สวนพืชไร้ดิน (Soilless Culture Center)

ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6 ตำบลวังน้ำซับ ริมถนนกรุงเทพฯ-สุพรรณฯ-ชัยนาท(ทางหลวงหมายเลข 340) บนเนื้อที่ 200 ไร่ ปลูกพืชผักตามฤดูกาลและผักเมืองหนาวด้วยวิธีไม่ใช้ดิน โดยปลูกบนแผ่นฟองน้ำ ทราย กรวด ขี้เลื่อยหรือในสารละลายธาตุอาหารแทนปราศจากศัตรูพืช วัชพืช และสารป้องกันโรคพืช ทำให้ผู้ผลิตและผู้บริโภคปลอดภัยจากสารพิษ นับเป็นนวัตกรรมความดิดริเริ่มใหม่ที่มุ่งพัฒนาด้านการเกษตรของไทย สิ่งที่น่าสนใจภายในสวนพืชไร้ดิน ได้แก่ สวนพืชไร้ดินที่สมบูรณ์และใหญ่ที่สุดในประเทศไทย บนเนื้อที่ 200 ไร่, แปลงพืชไร้ดินที่ยาวที่สุดในโลก 72 เมตร(เฉลิมพระเกียรติในวโรกาส 72 พรรษา สมเด็จพระบรมราชินีนาถฯ), บ่อเลี้ยงปลาขนาดใหญ่ อุดมสมบูรณ์ไปด้วยปลาเศรษฐกิจหลากหลายพันธุ์, ผักไร้สารพิษ 100 % จากฟาร์ม, สินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์(OTOP) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อที่สวนพืชไร้ดิน โทร. 0 3556 1000, 08 6399 4545 กรุงเทพฯ โทร. 0 2435 0400-11 เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.00-18.00 น. (มีวิทยากรนำชม)

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตร

ตั้ง อยู่ตำบลพลับพลาไชย เป็นศูนย์จัดตั้งขึ้นเพื่อพัฒนางานด้านพันธุ์พืชและฝึกอาชีพการเกษตร ทั้งในด้านการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในห้องปฏิบัติการ การอนุบาล และการขยายเพิ่มปริมาณการกระจายพันธุ์ การปลูก การส่งเสริม และการฝึกอบรมวิทยาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ภายในศูนย์มีสิ่งที่น่าสนใจ คือ โรงเรียนอนุบาลและผลิตพืชเพาะเลี้ยง 7 โรงเรือน ที่ควบคุมการทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่

โรงที่ 1 โรงเรือนอนุบาล ใช้อนุบาลพืชขนาดเล็กที่นำออกจากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อใหม่ ๆ ซึ่งต้องการดูแลเป็นพิเศษ
โรงที่ 2 โรงเรือนอนุบาล ใช้อนุบาลพืชที่ผ่านการอนุบาลจาก โรงที่ 1 มาแล้ว
โรงที่ 3 โรงเรือนอนุบาล ใช้อนุบาลพืชที่ผ่านการอนุบาลจากโรงที่ 2 จนกว่าจะนำไปปลูก
โรงที่ 4 โรงเรือนขยาย รับพันธุ์พืชจากโรงเรือนแม่พันธุ์ปลอดโรคหรือปลูกพันธุ์พืชหลัก เพื่อขยายเพิ่มปริมาณให้มากขึ้น
โรงที่ 5 โรงเรือนสาธิต ใช้สำหรับสาธิตและทดสอบการใช้หรือการปลูกพืชเพาะเลี้ยงเพื่อเป็นตัวอย่างแก่ผู้ใช้พันธุ์
โรงที่ 6 โรงเรือนแม่พันธุ์ปลอดโรค มีระบบควบคุมโรคแมลงที่เข้มงวดใช้เก็บหรือเตรียมแม่พันธุ์ เพื่อนำไปเพาะเลี้ยงหรือขยายเพิ่มปริมาณต่อไป
โรงเรือนผลิตต้นกล้า ใช้สำหรับอนุบาลพืชที่ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือปักชำ

สำหรับระบบต่างๆ ของโรงเรือนอนุบาลพืช ได้แก่ ระบบทำความเย็น ระบบพ่นหมอก ระบบควบคุมอุณหภูมิ ระบบควบคุมความเข้มของแสง ระบบการให้แสง ระบบควบคุมศัตรูพืช ระบบการวางพืช ระบบการให้น้ำ ระบบการให้ปุ๋ย ระบบฆ่าเชื้ออุปกรณ์และวัสดุอนุบาล ระบบเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ ระบบควบคุมการทำงานโดยคอมพิวเตอร์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ตึกอำนวยการ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร (พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) ตำบลพลับพลาไชย อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 72160 โทร. 0 3555 1399

การเดินทาง จากอำเภออู่ทอง ไปตามเส้นทางอู่ทอง-ด่านช้าง ประมาณ 6 กิโลเมตร ถึงโรงงานน้ำตาลเลี้ยวซ้าย ข้ามสะพานคลองชลประทานแล้วเลี้ยวขวาเลียบคลองชลประทาน ประมาณ 10 กิโลเมตร ศูนย์ฯ จะอยู่ทางด้านซ้ายมือ

ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง

 

อยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรี (แม่น้ำท่าจีน) ห่างจากฝั่งแม่น้ำไปตามถนนมาลัยแมน เดิมเป็นศาลไม้ทรงไทยมีเทวรูปพระอิศวรและพระนารายณ์สวมหมวกเติ๊ก(หมวกทรง กระบอก) สลักด้วยหินสีเขียว ปัจจุบันได้สร้างศาลเป็นรูปวิหารและเก๋งจีน เจ้าพ่อหลักเมืองนี้เป็นพุทธประติมากรรมสลักบนแผ่นหินแบบนูนต่ำในพุทธศาสนา ลัทธิมหายาน แบบศิลปเขมรอายุราว พ.ศ.1185–1250 หรือประมาณ 1,300-1,400 ปีมาแล้ว มีพระนามว่า พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร หรือที่เรียกกันว่า พระนารายณ์สี่กร เป็นที่สักการะบูชาทั้งชาวไทยและชาวจีน ตามประวัติกล่าวว่า ประมาณ 150 ปีมาแล้วมีผู้พบพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร จมดินจมโคลนอยู่ริมคลองศาลเจ้าพ่อ จึงได้ช่วยกันอัญเชิญขึ้นข้างบนพร้อมกับสร้างศาลเป็นที่ประทับ ในคราวเสด็จประพาสต้นเมื่อ พ.ศ. 2447 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเคยเสด็จทรงกระทำพลีกรรมเจ้าพ่อหลัก เมืองและพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ก่อเขื่อนรอบเนินศาล ทำชานสำหรับคนบูชา สร้างกำแพงแก้ว ต่อตัวศาลออกมาเป็นเก๋งแบบจีน สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์กับเจ้าพระยายมราช ทรงสนพระทัยในการปรับปรุงศาลเจ้าพ่อหลักเมืองเมื่อในราว พ.ศ. 2480 ทุกปีในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 ของจีน จะมีพิธีงานประเพณี “ทิ้งกระจาด” (หรือ พิธีทิ้งทาน) จัดที่สมาคมจีน ซึ่งเป็นพิธีกรรมของพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ถือเป็นการจำเริญเมตตาแก่ดวงวิญญาณที่ล่วงลับไปแล้ว โดยนำสิ่งของต่างๆ ที่ผู้ตายใช้สอยและสิ่งของจำเป็นอื่นๆ มาแจกแก่ผู้ยากจน สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3552 1690

วัดหน่อพุทธางกูร (เดิมชื่อ วัดมะขามหน่อ)

ตั้งอยู่ที่ตำบลพิหารแดง ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณ เลยวัดพระลอยไปทางเหนือประมาณ 2 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 3507 กิโลเมตรที่ 3 เป็นวัดเงียบสงบสร้างในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ภายในพระอุโบสถหลังเก่ามีภาพจิตรกรรมฝาผนังเกี่ยวกับพุทธประวัติ ค่อนข้างสมบูรณ์ชัดเจน เป็นจิตรกรรมที่มีความงดงาม เขียนราว พ.ศ. 2391 ในสมัยรัชกาลที่ 3

อุทยานแห่งชาติพุเตย

 

มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 198,422 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 2 จังหวัด คือ ป่าองค์พระ ป่าเขาพุระกำและป่าเขาห้วยพลู อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรีและวนอุทยานถ้ำเขาวง อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ สัตว์ป่าชุกชุม เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารด้านการเกษตรของจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัด กาญจนบุรี บนยอดเขามีป่าสนสองใบหลายพันต้นและยังเป็นจุดชมวิวที่สวยงาม

จุดที่น่าสนใจของอุทยานแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ตามสถานที่ตั้งของหน่วยพิทักษ์อุทยานดังนี้

หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติพุเตยที่ 1 (พุเตย) บ้านป่าขี อำเภอด่านช้าง หากเดินทางจากเส้นทางหลวงหมายเลข 333 จะเห็นป้ายไปอุทยานแห่งชาติพุเตยอีก 18 กิโลเมตรจะถึงที่หน่วยพิทักษ์นี้ก่อน จากจุดนี้มีพื้นที่สำหรับให้นักท่องเที่ยวกางเต็นท์พักแรมได้ มีนิทรรศการเกี่ยวกับป่าไม้สำหรับผู้สนใจ
ที่ทำการอุทยานแห่งชาติพุเตย ตั้งอยู่ ณ บ้านห้วยหินดำ ตำบลวังยาว อำเภอด่านช้าง เดินทางจากหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติพุเตยที่ 1 (พุเตย) ไปประมาณ 12 กิโลเมตร
ศาลเลาด้า ตั้งอยู่ระหว่างทางจากหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ 1 (พุเตย) ไปที่ทำการอุทยานแห่งชาติพุเตย สร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์รำลึกถึงผู้เสียชีวิตจากเครื่องบินเลาด้าแอร์ตกเมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2534 มีผู้เสียชีวิต 223 คน
ป่าสนสองใบธรรมชาติ อยู่บนเทือกเขาพุเตย ห่างจากหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่1(พุเตย) ประมาณ 12 กิโลเมตร สามารถเดินทางไปได้โดยรถขับเคลื่อนสี่ล้อแล้วเดินเท้าต่อเข้าไปประมาณ 2 กิโลเมตร ระหว่างทางเดินจะผ่านจุดชมวิว และผ่านเนินสนสองใบ สามารถพักค้างคืนกางเต็นท์ได้บริเวณป่าสนสองใบ
ต้นปรงยักษ์ อยู่บนเทือกเขาพุเตย เจริญเติบโตขึ้นผสมกับสนสองใบ อายุประมาณ 200–300 ปี สูง 6-8 เมตร
น้ำตกตะเพินคี่ อยู่ห่างจากอำเภอด่านช้างประมาณ 51 กิโลเมตร ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติพุเตย บ้านห้วยหินดำ 33 กิโลเมตร เป็นน้ำตก 2 ชั้น มีน้ำไหลตลอดปี ผืนป่าและต้นน้ำตะเพินคี่ยังคงสภาพสมบูรณ์ มีชาวกะเหรี่ยงอาศัยอยู่มากว่า 200 ปี เป็นป่าที่ยังคงสภาพความเป็นธรรมชาติอย่างสวยงาม เหมาะสำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย
หมู่บ้านกะเหรี่ยงตะเพินคี่ อยู่ใกล้น้ำตกตะเพินคี่ เป็นหมู่บ้านปลอดอบายมุขของมึนเมาทุกประเภท กะเหรี่ยงตะเพินคี่ เป็นกะเหรี่ยงด้ายเหลือง นับถือศาสนาพุทธ ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 ของทุกปีตลอด 3 วัน 3 คืน จะมีงานพิธีไหว้จุฬามณี ซึ่งนับถือกันว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทำจากไม้ไผ่เหลาแหลมปักไว้ที่ลานหมู่ บ้าน

หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติพุเตยที่ 2 (พุกระทิง) บ้านวังโหรา อำเภอด่านช้าง
อ่างเก็บน้ำลำตะเพิน อยู่ที่บ้านวังโหรา เป็นอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ อยู่ใกล้ที่ทำการหน่วยพิทักษ์อุทยานฯที่ 2 (พุกระทิง)
น้ำตกพุกระทิง ห่างจากหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติพุเตยที่ 2 (พุกระทิง) ประมาณ 7 กิโลเมตร ใกล้อ่างเก็บน้ำลำตะเพิน
วนอุทยานถ้ำเขาวง (หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติพุเตยที่ 3) (ถ้ำพุหวาย) อยู่ที่บ้านพุเตย อำเภอบ้านไร่ ห่างจากอำเภอบ้านไร่ 12 กิโลเมตร
ถ้ำพุหวาย ห่างจากวนอุทยาน 150 เมตร เป็นถ้ำขนาดใหญ่ มีหินงอกหินย้อยหลายรูปแบบถึง 16 จุด มีค้างคาวอาศัยอยู่ประมาณ 9 ชนิด มีโพรงทะลุด้านตรงกันข้ามของถ้ำสามารถมองเห็นทิวทัศน์สวยงามของป่าสนสองใบ

การเดินทางและที่พัก อุทยานอยู่ห่างจากอำเภอด่านช้างประมาณ 80 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดสุพรรณบุรี ประมาณ 160 กิโลเมตร จากอำเภอด่านช้างไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 333 ผ่านถ้ำเขาเวฬุวันไปประมาณ 1 กิโลเมตร จะเห็นป้ายไปอุทยานแห่งชาติพุเตยอีก 18 กิโลเมตร และเลยผ่านบ้านป่าขีไปอีกประมาณ 3 กิโลเมตร จะถึงหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติพุเตยที่ 1 (พุเตย) รถยนต์ที่ใช้ควรเป็นรถขับเคลื่อนสี่ล้อที่มีกำลังแรงสูง

ที่ทำการอุทยานฯ ไปทางอำเภอบ้านไร่ ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ทางซ้ายมือจะมองเห็นป้ายหมู่บ้านวังคุ้น แล้วเลี้ยวเข้าไปประมาณ 14 กิโลเมตร หรือ ห่างจากอำเภอด่านช้างไปประมาณ 50 กิโลเมตร

อุทยานมีศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลานกางเต็นท์ สนใจเดินทางไปอุทยานแห่งชาติพุเตย ติดต่อ ตู้ ปณ. 19 อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี 72180

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ทำการอุทยานแห่งชาติพุเตย (เขาสน) โทร. 08 1934 2240 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติพุเตยที่ 1 โทร. 0 3548 1708 , 08 7105 2833 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติพุเตยที่ 2 (พุกระทิง) โทร. 0 3552 9215 , 08 7056 3370

ถ้ำนาคี หมีน้อย ย้อยระย้า และผาใหญ่ ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติพุเตย ประมาณ 2 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นหินงอกหินย้อยสวยงามตามธรรมชาติ อยู่ที่บริเวณเขาตู่ตี่ มีต้นจันผาบัวสวรรค์ขึ้นอยู่หนาแน่น การเดินทาง มีการปีนป่ายตามไหล่เขา ตามหินงอกขรุขระ เหมาะสำหรับผู้ที่ชอบผจญภัย และชอบสิ่งที่แปลกใหม่

ถ้ำเวฬุวัน

ตั้งอยู่ในบริเวณวัดวังคัน ห่างจากอำเภอด่านช้างประมาณ 14 กิโลเมตร ห่างจากทางเข้าอุทยานแห่งชาติพุเตย 1 กิโลเมตร มีบันไดคอนกรีตขึ้นถึงบริเวณปากถ้ำ จำนวน 61 ขั้น สภาพภายในถ้ำมีไฟฟ้าสว่างพอให้นักท่องเที่ยวเห็นสภาพภายในถ้ำ ซึ่งมีหินงอกและหินย้อยสวยงาม และมีพระพุทธรูปจำลองปางป่าเลไลยก์ให้นักท่องเที่ยวได้สักการะบูชา นอกจากนั้นในบริเวณวัด ทางอำเภอได้จัดทำเป็นสวนไผ่เทิดพระเกียรติ มีพันธุ์ไผ่ต่าง ๆ ปลูกไว้ประมาณ 10 กว่าชนิด

ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 8

ตั้งอยู่ที่ตำบลดอนกำยาน ริมถนนมาลัยแมน เลยวัดป่าเลไลยก์ไปทางอำเภออู่ทองประมาณ 1 กิโลเมตร ตรงข้ามสวนน้ำสุพรรณบุรี ศูนย์นี้จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมในครอบครัว และหัตถกรรมในเขตพื้นที่ 14 จังหวัดภาคตะวันตก มีอาคารแสดงนิทรรศการผลงานผลิตภัณฑ์หัตถกรรมฝีมือดีเด่นสวยงามประเภทต่าง ๆ เช่น เครื่องหนัง เสื้อผ้า เครื่องหวาย จากในเขตพื้นที่ดูแล รวมทั้งจัดจำหน่ายให้กับประชาชนทั่วไปในราคาย่อมเยา เปิดทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 10.00–16.00 น.โทร. 0 3554 5518–9

เขื่อนกระเสียว

อยู่ที่ตำบลด่านช้าง ในพื้นที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาห้วยกระเสียว ของกรมชลประทาน เป็นเขื่อนดินกักเก็บน้ำสร้างกั้นลำห้วยกระเสียว ยาว 4,250 เมตร สูง 32.50 เมตร ปริมาณน้ำที่สามารถกักเก็บน้ำได้สูงสุด 240 ล้านลูกบาศก์เมตร นับเป็นเขื่อนดินที่มีความยาวที่สุดในประเทศไทยและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา ขนาดใหญ่แห่งหนึ่ง นักท่องเที่ยวที่ต้องการขึ้นไปชมทิวทัศน์บริเวณสันเขื่อนต้องเดินขึ้นบันได จากลานจอดรถด้านล่าง เมื่อขึ้นไปถึงจะมองเห็นทิวทัศน์กว้างไกลสุดสายตาถึงเขาพุเตย มีร้านอาหารส้มตำไก่ย่างบริการใกล้ลานจอดรถ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ เขื่อนกระเสียว โทร. 0 3559 5120

วัดเขาขึ้น หรือ วัดเขานางบวช (วัดพระอาจารย์ธรรมโชติ)

ห่างจากจังหวัดประมาณ 51 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 340 กิโลเมตรที่ 138-139 มีทางลาดยางขึ้นไปจนถึงวัดซึ่งตั้งอยู่บนเขานางบวช หรือจะเดินขึ้นบันได 249 ขั้น ไปจนถึงยอดเขาก็ได้ พระอาจารย์ธรรมโชติเป็นพระที่มีความสำคัญในศึกชาวบ้านบางระจัน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านเครื่องรางของขลัง ชาวบ้านบางระจันจึงนิมนต์ไปเป็นขวัญและกำลังใจในการสู้รบกับพม่า ภายในวิหารพระอาจารย์ธรรมโชติประดิษฐานรอยพระพุทธบาท ด้านนอกวิหารจะเห็น เจดีย์หินแผ่น เป็นหินแผ่นบางๆ วางซ้อนเป็นรูปเจดีย์ขนาดไม่สูงมากตั้งอยู่ติดกับวิหาร ในโบสถ์หลังใหม่มีรูปปั้นอาจารย์ธรรมโชติ เมื่อยืนอยู่บนยอดเขาสามารถชมทิวทัศน์อันสวยงามของอำเภอเดิมบางนางบวชได้ อย่างทั่วถึง

วัดพระนอน
ตั้งอยู่ตำบลพิหารแดง เลยวัดหน่อพุทธางกูรไปเล็กน้อย วัดพระนอนนี้อยู่ติดกับแม่น้ำท่าจีน สร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ ภายในวัดมี อุทยานมัจฉา อยู่บริเวณริมน้ำหน้าวัด มีปลานานาชนิดชุกชุม ทั้งปลาสวาย ปลาตะเพียน ปลาแรด ทางวัดประกาศเป็นเขตอภัยทาน ปลูกต้นไม้ ทั้งไม้ผลและไม้ประดับ บริเวณวัดจึงร่มรื่นสวยงาม และเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจที่ขึ้นหน้าขึ้นตาแห่งหนึ่งของจังหวัด และยังมีวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์สลักจากหิน มีลักษณะแปลกกว่าที่อื่น คือ เป็นพระพุทธรูปอยู่ในลักษณะนอนหงายขนาดเท่าคนโบราณยาวประมาณ 2 เมตร ลักษณะคล้ายกับพระนอนที่เมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย สถานที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวหนึ่งใน Unseen Thailand อีกด้วย

 
 

Destination Guides Car & Fleet Guide Car Rental Locations