www.AvisThailand.com
โทร. 662-2511131-2
662-2555300-4
668-1-3785697
หน้าหลัก เกี่ยวกับราคา รู้จัก Avis ติดต่อ ลิงค์
ข้อเสนอล่าสุด บริการจองรถเช่า คู่มือเช่ารถ บริการ Avis เช่ารถระยะยาว รถเช่าพร้อมคนขับ บริษัททัวร์ Avis used Car
กรุงเทพฯ ชะอำ หัวหิน เชียงใหม่ เชียงราย หาดใหญ่ ขอนแก่น กระบี่ นครศรีธรรมราช
พัทยา พิษณุโลก ภูเก็ต สมุย สุราษฎร์ธานี ตรัง อุดรธานี  อุบลราชธานี  

PHRANAKHONSIAYUTTHAYA

PHRANAKHONSIAYUTTHAYA : General Information

      Phra Nakhon Si Ayutthaya or Ayutthaya in short, is one of Thailand’s historical and majestic highlights. Serving as the Thai capital for 417 years (1350 1767: Kingdom of Ayutthaya), it was once glorified as one of the biggest cities in Southeast Asia.


     During the 17th century, most foreign visitors to Ayutthaya, traders or diplomats alike, claimed Ayutthaya to be the most illustrious and glittering city that they had ever visited. The map of Ayutthaya published in 1691 by Simon de la Loubere in Du Royaume De Siam is proof of such recognition.

The Kingdom of Ayutthaya reached its apex in terms of sovereignty, military might, wealth, culture, and international commerce in the 16th century when the Kingdoms territory was extended far beyond present-day Laos, Cambodia, and Myanmar. Ayutthaya even had diplomatic relations with Louis XIV of France and was courted by Dutch, Portuguese, English, Chinese and Japanese merchants.
Visitors can explore and appreciate Thai history in Phra Nakhon Si Ayutthaya, which is situated only 86 kilometers north of Bangkok. Visitors to Ayutthaya can marvel at its grandeur reflected through numerous magnificent structures and ruins concentrated in and around the city island surrounded by Maenam Chao Phraya, Maenam Pa Sak and Maenam Lopburi.

More importantly,Phra Nakhon Si Ayutthaya Historical Park, an extensive historical site in the heart of Ayutthaya city, has been included in UNESCO’s World Heritage list since 13 December, 1991.

The Past

The Kingdom of Ayutthaya was built and developed in leaps and bounds. The ruins in Ayutthaya that survived the test of time embody both the glorious and ignominious stories of the Kingdom.

This ancient capital of the Kingdom of Ayutthaya, founded in 1350 by King U-Thong, had thirty three kings of different dynasties and reached its peak in the middle of the18th century. A magnificent city with three palaces and over 400 magnificent temples on an island threaded by canals Ayutthaya was truly an impressive city that attracted both Europeans and Asians. After a 15-month siege the Kingdom of Ayutthaya was conquered and completely destroyed by the Burmese in 1767. When King Taksin the Great finally liberated the Kingdom, a new dynasty was established and the capital was moved to Thonburi.

The seal of Ayutthaya depicts a conch on a pedestal tray placed in a small castle under a Mun tree. According to legend, King U-Thong, founder of the Kingdom of Ayutthaya, discovered a beautiful conch buried in the ground being prepared for the establishment of the seat of his Kingdom. Consequently, he had a tiny castle built to house the shell. Hence, the provincial seal.

The Present

Today, there are but groups of crumbling ruins and rows of headless Buddhas where once an empire thrived. The temple compounds are still awe-inspiring even in disrepair and a visit here is memorable and a good beginning for those drawn to the relics of history.

The architecture of Ayutthaya is a fascinating mix of Khmer (ancient Cambodian style) and early Sukhothai style. Some cactus-shaped obelisks, called prangs, denote Khmer influence and look something like the famous towers of Angkor Wat. The more pointed stupas are ascribed to the Sukhothai influence. For new arrivals who had limited their visit to Bangkok, similarities may be noted with the riverside Wat Arun, an 18th-century structure that was built in the so-called Ayutthaya style, a melding of Sukhothai Buddhist influences and Hindu-inspired Khmer motifs.

Ayutthaya is administratively divided into 16 districts: Phra Nakhon Si Ayutthaya, Ban Phraek, Bang Ban, Bang Pahan, Bang Pa-in, Amphoe Bang Sai, Bang Sai, Lat Bua Luang, Maha Rat, Nakhon Luang, Phachi, Phak-Hai, Sena, Tha Rua, Uthai and Wang Noi.

PHRANAKHONSIAYUTTHAYA : How to get there

From Bangkok
By Car:

Alternative I: Take Highway No. 1 (Phahonyothin Road.) then take Highway No. 32 to Ayutthaya.

Alternative II: Take Highway No. 304 (Chaeng Watthana Road.) or take Highway No. 302 (Ngamwongwan Road.); turn righ to Highway No. 306 (Tiwanon Road.), then take Highway No. 3111 (Pathum Thani - Samkhok - Sena) and turn right at Amphoe Sena to Highway No. 3263

Alternative III: Take Highway No. 306 (Bangkok - Nonthaburi - Pathum Thani Road.) then take Highway No. 347

 
By Bus:

Ordinary buses run between the Bangkoks Northern Bus Terminal (Mochit 2 Bus Terminal) and Ayutthaya's main terminal on Naresuan Rd. every 20 minutes between 5 a.m. and 7 p.m. The fare is 30 bahts and the trip takes around 2hours. Air-conditioned buses operate the same route every 20 minutes from 5.40 a.m. to 7.20 p.m. (every 15 minutes between 7a.m. and 5p.m.) at the rate of 47 bahts, the trip takes 1.5 hours when traffic to north of Bangkok is light, otherwise it will take two hours.

 
  By Train:

Trains to Ayutthaya leave Bangkok's Hua Lamphong Station approximately every hour between 4.20 a.m. and 10 p.m. The 3rd class fare is 15 bahts for the 1.5 hour trip. Train schedules are available from the information booth at Hua Lamphong Station. Alternatively, call 0 2223 7010, 0 2223 7020, or 1690 or visit www.railway.co.th for reservations.


By Boat :

Travelling by boat to Phra Nakhon Si Ayutthaya is popular among foreigners since it does not only reveal the beauty as well as lifestyle of the people on both sides of the Chao Phraya River, but also reflects the life in history at the time of Ayutthaya Kingdom when the Chao Phraya River served as a channel of transportation in trading with foreign countries. 

Cruise to Ayutthaya
There are no scheduled or chartered boat services between Bangkok and Ayutthaya. However, several companies in Bangkok operate luxury cruises to Bang Pa-In with side trips by bus to Ayutthaya for approximately 1,500 bahts to 1,800 bahts per person, including a sumptuous luncheon. Longer two days trips in converted rice barges start at 4,800 baht. The luxurious cruise is operated by:
1. Chao Phraya Princess Tel: 0 2860 3700
2. Horizon Cruise Tel: 0 2236 7777
3. River Sun Cruise Tel: 0 2266 9316
4. Manohra Tel: 0 2476 0021-2
5. Grand Pearl Tel: 0 2862 0255-60
6. Ayutthaya Boat&Travel Tel: 0 2746 1414, 08 1456 9862, 08 9456 3700, 08 1733 5687

Travelling around Ayutthaya and from Ayutthaya to nearby attractions

Song taew and shared tuk-tuk will go anywhere for 10 to 30 bahts/person depending on the distance/destination. A tuk-tuk from the train station going to any point in the old Ayutthaya zone is approximately 30 bahts. Note that the trip on the island (old Ayutthaya city) itself costs 20 bahts/trip maximum.

To tour the ruins, the most economical and ecological option is to rent a bicycle from one of the guesthouses (40 to 50 bahts/day). Walking is also an option, but not recommended during the hot or rainy seasons. It is possible to charter a sam lor, tuk tuk or song taew by the hour or by the day to explore the ruins but the prices are relatively high by Thai standards (150 bahts/hour, or 500 bahts for the entire day).

Another interesting activity is chartering a boat from the Tha Chan Kasem (Chan Kasem Pier, next to Hua Ro Market) for a semicircular tour of the island and seeing some of the less accessible ruins. A long tailed boat with a capacity of up to 8 people can be hired for 400 bahts for a 2 to 3 hour trip with stopovers at Wat Phutthaisawan, Wat Phanan Choeng and Wat Chai Wattnaram.

 Mini - bus services operating from the railway station into the city are also available. Hiring a mini - bus within Ayutthaya costs 250 - 300 bahts/day. If you wish to travel between Ayutthaya and Bang Pa - In, mini - buses regularly leave Chao Prom Market (on Chao Prom Road). Daily schedules start from 6.30 a.m. with a fare of 30 bahts. The trip takes approximately 50 minutes.

PHRANAKHONSIAYUTTHAYA : Festival & Event

Phra Nakhon Si Ayutthaya Songkran Festival
Daet : April 12 - 14, 2009
Venue : Around Phra Nakhon Si Ayutthaya  


Songkran celebrations will be held at various sites around the island city of Phra Nakhon Si Ayutthaya — the ancient capital of Ayutthaya. Songkran or Thai New Year festivities will feature ancient customs and traditions of Songkran that have been observed through the centuries. 

 
 
Visitors are invited to join local residents in traditional Songkran merit-making activities to seek blessings for the new year and to witness a range of time-honoured Thai traditions and customs, such as paying homage to the elderly.
 
Other popular Songkran highlights include the Miss Songkran Beauty Contest and the Grand Songkran procession. The ancient city of Ayutthaya is also famous for its elephant corral. Join the elephants and their mahouts for some Songkran water- splashing fun.

Activities
Bathing ritual of Buddha images at temples throughout Ayutthaya
The building of sand stupas and other merit-making activities
Scented lustral water is poured over the hands of elders and individuals held in high esteem in a gesture of respect
Water-splashing 
 

Contact information:
TAT Phra Nakhon Si Ayutthaya Office Tel : +66 (0) 3524 6076-7
E-mail: tatyutya@tat.or.th 
Website : www.songkran.net  

PHRANAKHONSIAYUTTHAYA : Activities

Wihan Phra Mongkhon Bophit

This chapel is located to the south of Wat Phra Si Sanphet. A large bronze seated Buddha image (Phra Mongkhon Bophit) was originally enshrined outside the Grand Palace to the east. It could be dated to the 15th century and was originally intended to stand in the open air. Later, King Songtham commanded it to be transferred to the west, where it is currently enshrined and covered with a Mondop. In the reign of Phra Chao Sua, the top of the Mondop was burnt down by a fire due to a thunderbolt. The King then commanded that a new building be built in the form of a big sanctuary (Maha Wihan) to cover the image in lieu of the former Mondop. During the second fall of Ayutthaya, the building and the image were badly destroyed by fire. The present Viharn and Buddha image have been reconstructed and renovated. The open area located east of the Viharn was formerly Sanam Luang, where royal cremation ceremonies took place. The admission fee is 50 baht/person.


Wat Phra Si Sanphet

In 1491, Wat Phra Si Sanphet was located inside the compound of the Grand Palace-the foundations of which are still visible-and served as the royal chapel, as Wat Phra Kaeo does in Bangkok. This Wang Lung Palace (Royal Palace) was built by King U-Thong upon the founding of the city. Used as a residential palace, it became a monastery in the reign of King Ramathibodi I. When King Borom Trai Lokanat commanded the construction of new living quarters, this residential palace was transformed into a temple,and the establishment of Wat Phra Si Sanphet. In Ayutthaya’s heyday, this was the largest temple in the city.

The three main chedis which have been restored contain the ashes of three Ayutthaya kings. The temple is situated at the northern end of Si Sanphet Road. The royal chapel does not have any monks and novice inhabitants. 

Admission fee is 50 baht.  A package ticket vilid for 30 days is also available at 220  baht each, covering admission to Wat phra Si Sanphet and the Ancient Palace Complex, Wat Mahathat, Wat Ratchaburana, Wat Phra Ram, Wat Chai Watthanaram and Wat Maheyong .

Wat Phanan Choeng

Overlooking the river on the opposite bank from the main city, Wat Phanan Choeng was founded shortly before the establishment of Ayutthaya as the Kingdoms capital. Its main building enshrines a huge, seated Buddha image, that is 57 feet tall an object of particular devotion to Thais of Chinese origin. This principal image called Phrachao Phananchoeng was built of stucco in the attitude of subduing evil in 1325. The temple is a popular stopover for riverboat cruises along the Maenam Chao Phraya. This temple can be reached by boat from the fortress ruins.

Wat Chaiwatthanaram

Located on the bank of the Maenam Chao Phraya, to the west of the city island is Wat Chaiwatthanaram. Built in 1630 by King Prasat Thong to honor his mother, Wat Chai Wattanaram was conceived as a replica of the Angkor temple. A Royal monastery, the temples unique feature is a huge prang which is surrounded by smaller prangs. This symbolizes Mount Meru, the abode of the heavenly gods. Now restored, the temple is also accessible by a long-tailed boat trip from Chankasem Palace Pier. This 1-hour trip to the temple costs approximately 300-400 bahts (round-trip). 

Admission is 50 baht. A package ticket vilid for 30 days is also available at 220  baht each, covering admission to Wat phra Si Sanphet and the Ancient Palace Complex, Wat Mahathat, Wat Ratchaburana, Wat Phra Ram and Wat Maheyong .

Elephant Kraal Pavilion

The Pavilion, utilized as the royal seat to witness the elephant round up, is situated north of the city island. In the past wild elephants would be trained here to become war or transport animals. It is thought that in the Ayutthaya period the stockade was inside the city wall, but this one was built later and was used up until the Bangkok period. In the middle of the stockade is a shrine where the elephant guardian is supposed to reside. Posts made of whole timbers form the fence where elephants were tied up during the training. An elephant round-up was demonstrated here in 1890, during the reign of King Rama V, for the benefit of the Tsarevitch, who later became Nicholas II of Russia, during his visit to Siam.

Bang Sai Royal Folk Arts and Craft Centre

Located on the left bank of the Chao Phraya River in Tambon Bueng Yai, Amphoe Bang Sai. Farmers from Ayutthaya as well as from other provinces undergo training in folk arts and crafts here. At this centre, you will have a glimpes of how farmers in the four regions live and work ; how their products of arts and crafts are produced. The centre is under the Promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques (SUPPORT) which was established under Royal Patronage on the 21st July, 1976. Products and activities which can be seen here are Fern Vien Basketry, Weaving Basketry, Artificial Flowers, Hand-Woven Silk and Cotton, Silk Dyeing, Wood Carving, Miniature Hand - Modelled Thai Dolls, Furniture Making, Cloth-Made Products, etc. All the products are sold at the Centre and in every branch of Chitralada Store.  The Centre covers a total area of approximately 1,000 rai and houses several places of interest including:
 
Sala Phra Ming Khwan is a 4-storey applied Thai building with 4 porches, towering in the heart of the Bang Sai Royal Folk Arts and Crafts Centre. The first floor houses arts and crafts demonstration and shops displaying as well as selling products from the Centre and other arts and crafts centres throughout the country. The second and third floors exhibit the Centre’s masterpieces of the arts and crafts products, and the fourth floor accommodates meetings and seminars. Open daily during 9.00 a.m. – 5.00 p.m. on weekdays and 9.00 a.m. – 6.00 p.m. on holidays. Admission is free.

Arts and Crafts Village The establishment of this village was supported by the Tourism Authority of Thailand (TAT) in order to showcase different aspects of architecture of the Thai houses in various regions of the country as well as their ways of living and culture. Lifestyle and handicraft demonstrations are provided daily between 8.30 a.m.–5.00 p.m. on weekdays and 9.00 a.m.–7.00 p.m. on weekends. Thai classical dances and folk entertainment of the 4 regions are performed during 4.30–5.30 p.m. on weekends and national holidays. 
 
The village also offers a traditional Thai wedding ceremony of the Central Region which is to include a religious rite, a procession of the groom’s presents for the bride or Khan Mak, a lustral water pouring ceremony, venue decorations, music as well as food and beverage for guests and relatives. For more details, contact the Arts and Crafts Village at Tel. 0 3536 6666-7, 08 9132 0303 (Khun Atchara).

Arts and Crafts Training Buildings They are situated in the heart of the Centre and comprise various divisions of arts and crafts. The Centre currently provides 29 divisions of arts and crafts training for farmers from all regions of the country to be their supplementary occupations out of the farming season. Visitors can have a look at all stages of the elaborate arts and crafts production. Open daily between 9.00 a.m. – 4.00 p.m. during training periods.

One Thousand-armed Kwan Yin Bodhisattva The 6-metre high image of the one thousand-armed Kwan Yin Bodhisattva was carved out of yellow sandalwood and presented to His Majesty King Bhumibol Adulyadej on the auspicious occasion of his 6th cycle birthday anniversary by Mr. Tu Zhia on behalf of the Chinese people. His Majesty had the image enshrined in a temporary shrine at the elephant pavilion – Sala Rong Chang -  within the Centre for the public to pay respect daily during 9.00 a.m.–5.00 p.m.

Phra Tamnak  is a royal residence for Their Majesties the King and the Queen and their royal children built into a traditional Thai house of Central Thailand with an open basement, using construction materials available locally and surrounded by a beautiful garden and miniature waterfall.
 
Wang Pla is an aquarium displaying freshwater fish constructed and administered by the Department of Fisheries. The main building contains two large aquariums; one is of a bean shape with a capacity of 1,400 tons, the other of a round shape with a capacity of 600 tons, both accommodating various species of freshwater fish native to Thailand. Open during 10.00 a.m. – 4.00 p.m. and closed on Mondays and Tuesdays. 
 
Suan Nok is a bird park operated by the Wildlife Fund Thailand under the Royal Patronage of H.M. the Queen. There are two large aviaries providing nests for more than 30 species of rare birds within natural-like environments including an artificial stream and waterfall as well as forest. There is a suspension bridge for visitors to have a look and take photos of the birds from on top of the aviaries. Other wild animals are also to be seen nearby. Open daily during 9.00 a.m. – 7.00 p.m. Admission is 20 Baht for adults and 10 Baht for children. 
 
Bang Sai Arts and Crafts Centre is open during 8.30 a.m.–5.00 p.m. on weekdays and 8.30 a.m.–6.00 p.m. on weekends and national holidays. Admission is 100 Baht for adults and 50 Baht for children. Visit the Arts and Crafts Village, “Wang Pla” – Thailand’s largest freshwater fish aquarium, arts and crafts training buildings, “Sala Phra Ming Khwan” – a modern Thai building where the Centre’s products are on sale, pay respect to the one thousand-armed Kwan Yin Bodhisattva at the elephant pavilion and take a mini-train free of charge around the Centre. For more information, Tel. 0 3536 6252-4, 0 3528 3246-9 or click www.bangsaiarts.com.

How to Get to Bang Sai Arts and Crafts Centre
By Car :
1. Route 1   Highway No.9 (Western Ring Road), from Highway No.345 intersection (Amphoe Bang Bua Thong), which is also accessible from Suphan Buri – Taling Chan, or Pathum Thani via Sam Khok elevated intersection – across the Chao Phraya  River – turn left at Bo Sa Intersection – straight on to the Centre.
2. Route 2  Highway No.306 (Tiwanon Road) from Pak Kret Intersection – Suan Somdet Intersection – Pak Khlong Rangsit Intersection – Bang Phun Intersection – turn right into Highway No.347 (Pathum Thani – Bang Pahan) at Pathum Thani Technological College Intersection via Chiang Rak Noi Intersection – turn left at Chiang Rak Noi elevated intersection and straight pass Bo Sa Intersection – U turn under the bridge across the Chao Phraya River – turn left at Bo Sa Intersection – straight on to the Centre.
3. Route 3  Pak Kret – Bang Pa-in Expressway – out of the expressway and straight pass Bo Sa Intersection – U turn under the bridge across the Chao Phraya River – turn left at Bo Sa Intersection – straight on to the Centre.
4. Route 4  Highway No.1 (Phahon Yothin Road) from Rangsit, or the North or Northeast – via Bang Pa-in elevated intersection into Highway No.9 (Western Ring Road) – straight pass Chiang Rak Noi elevated intersection – pass Bo Sa Intersection – U turn under the bridge across the Chao Phraya River – turn left at Bo Sa Intersection – straight on to the Centre.
5. Route 5  Asia Highway from Bang Pahan – Ayutthaya along Highway No.347 (Pathum Thani – Bang Pahan) – across the Chao Phraya River – turn right at Chiang Rak Noi elevated intersection–straight pass Bo Sa Intersection – U turn under the bridge across the Chao Phraya River – turn left at Bo Sa Intersection–straight on to the Centre.
6. Route 6  Highway No.3309 (Bang Pa-in–Chiang Rak Noi), from Asia Highway, or Ayutthaya, via Bang Pa-in Paper Manufacture – under the bridge of the Chao Phraya River – turn left at Bang Sai Pier – straight on to the Centre.
 
By Train : Take a train running from Hua Lamphong (Bangkok Railway Station) to Bang Pa-in Railway Station daily every hour starting from 06.40-22.00 hrs. Then, connect a Song Thaeo or mini-bus to Bang Sai Arts and Crafts Centre. Bangkok Railway Station , Tel. 1690, 0 2220 4334 or click www.railway.co.th.

By Bus : Take a Public Buse no.838 (Rangsit-Bang Sai Arts and Crafts Centre) leaving from Bangkok from the Future Park Rangsit Bus Stop on Phahonyothin Road to Bang Sai starting 06.00-21.00 hrs. or take a bus from the Northern Bus Terminal on Kamphaeng Phet Road to Bang Pa-in. Then, connect a Song Thaeo or mini-bus to Bang Sai Arts and Crafts Centre. For more details, please call Tel. 0 2936 2852-66 or click www.transport.co.th and Ayutthaya Bus Terminal, Tel. 0 3533 5304 
               
By Boat : Cruise to Ayutthaya
The luxurious cruise from Bangkok to the former capital of Ayutthaya is operated by Chao Phraya Princess Cruise  Tel: 0 2860 3700, Horizon Cruise Tel: 0 2236 7777, River Sun Cruise Tel: 0 2266 9316, 266 9125-6, Manohra Tel: 0 2476 0021-2, and Grand Pearl Tel: 0 2861 0255-60.


Wat Ratburana

King Borom Rachathirat II (Chao Sam Phraya) built a temple on the site where his two elder brothers were cremated. His two brothers died in a power struggle to succeed their father, King Nakhon In who died in 1424. A series of bell-shaped chedis surround the main prang and a large oblong-shaped viharn is situated at the front. The architectural style evolved from the Khmer prasat, but has been adapted by the addition of a higher multi-layered base and an extended upper section. More corners were added to the main body and the tower section was extended to become corn-shaped. The antefixes, on the other hand, were attached to the body of the tower instead of leaving a decent gap between them which was common in Khmer prasats. These two temples are separated by Naresuan Road. 

Admission fee for each site is 50 baht. A package ticket vilid for 30 days is also available at 220  baht each, covering admission to Wat phra Si Sanphet and the Ancient Palace Complex, Wat Mahathat, Wat Phra Ram, Wat Chai Watthanaram and Wat Maheyong .



Chedi Phra Si Suriyothai

This pagoda is situated at the original site of the Rear Palace, in the west of the city. It is a memorial to Somdet Phra Suriyothai, who was the royal consort of Phra Mahachakkaraphat and the first heroine in Thai history. When the Burmese army intruded in 1548, Somdet Phra Suriyothai, clad in a warrior’s suit, interrupted the fighting between the King and Phrachao Prae of Burma and was cut to death. Her death saved Ayutthaya from another attack from the Burmese.

 

Chao Sam Phraya National Museum

This museum is perfect for history buffs who admire fine arts and handicraft of the Ayutthaya period. Housed in the museum are various original antiques, mostly made of gold and decorated with precious jewels. In addition, there are various antique bronze Buddha images and famous carved panels. Of note is a receptacle in the Thai Pavilion that contains relics of the Lord Buddha and other objects of art that are over 500 years old.

The museum which is located on Rochana Road, opposite the city wall is open daily, except Mondays, Tuesdays and national holidays, from 09.00 a.m. until 4.00 p.m. 

Admission fee is 150 Baht. 

For more information, call: 0 3524 1587

Japanese Village

Tambon Ko Rian.  In the late 16th Century A.D., there were more foreign commercial traders coming to Ayutthaya. Japanese merchandisers were also permitted to sail their junks to trade with  foreigners. A number of them came to Ayutthaya and were granted royal permission by the Thai king at that time to settle around the city island of the Ayutthaya Kingdom like the traders of other nationalities. There were more and more Japanese coming to Ayutthaya ever since. A Japanese headman at that time was Nagamaza Yamada. He was a favourite of King Song Tham and was appointed Okya Senaphimuk before being promoted to be the Ruler of Nakhon Si Thammarat where he lived till the end of his life. A statue of Mr. Nagamaza and an inscription on the historical background of the village in the Ayutthaya period were erected by the Thai-Japanese Association, with a building exhibiting the relations between the Kingdom of Ayutthaya and foreign countries. Open during 8.00 a.m. – 6.00 p.m. Admission is 20 Baht.

To get there, turn left at the Chedi Wat Sam Pluem Roundabout for approximately 2.5 kilometres via Wat Yai Chai Mongkhon towards Amphoe Bang Pa-in. For more information, please call Tel. 0 3524 5336.

Royal Palace

Currently called “Ancient Palace”. The residential palace of every king was located close to the city wall of Ayutthaya. A road passes by from Chantharakasem Palace, which is two kilometres away to the north. Important buildings inside the Grand Palace compound are : 
 
Wihan Somdet Hall The top of this hall has been decorated in a unique style of architecture called Prang. It has longer space in front and rear gabled rooms, and shorter space in the side gabled rooms. It was surrounded with a three-sided cloister and utilized for various royal ceremonies such as coronations. This was the first building over constructed in Ayutthaya to be affixed with gold leaf.

Sanphet Prasat Hall  This is the middle building construted in the same design as Wihan Somdet Hall. Kings used it to welcome foreign envoys and visitors.
 
Suriyat Amarin Hall A four-gabled roof building constructed of sandstone and brick ; it is close to the riverside city wall. It was used as a place to witness the royal barge processions.
 
Chakkrawat Phaichayon Hall
With a three-gabled roof, it is on the inner eastern city wall in front of the Grand Palace. It was used to view processions and military practice.
 
Trimuk Hall  This is located behind the Sanphet Prasat Hall. It is believed to have been the residential area of the consort members and is also the royal relaxing place in the garden.
 
Banyong Rattanat Hall Formerly known by the name of “Phra Thinang Thaisa”, it is located in the back compound of the Grand Palace on an Island in a pond. It has a four-gabled roof architecture. 
 
Remains of the throne halls that are left to be seen at present were constructed in the reign of King Borommatrailokkanat and used to serve as royal residences for all later kings. 

Open daily during 6.00 a.m. – 6.00 p.m. 

Admission is 50 Baht each. A package ticket is also available at 220 Baht each, covering admission to temples and museums within the province and valid for 30 days, including Wat Phra Si Sanphet and the Ancient Palace Complex, Wat Mahathat, Wat Ratchaburana, Wat Phra Ram, Wat Chai Watthanaram and Wat Maheyong. For more details, please call Tel. 0 3524 2501, 0 3524 4570.

Thai Boat Museum

The museum is located at the residence of its founder, Mr. Phaithun Khaomala, a renowned Thai boat modeller and former boat builder. Inspired by their beauty and relationship to the lives of Thai people, Mr. Phaithun dedicated a part of his residence to preseving what he holds to be fine examples of the country's treasured traditions.

On display are a wide range of models from his large and exquisite collection, make in teak. Included in the collection are more than 100 models boats delicately made by hand. They range from Thai and Chinese junks to other traditional Thai boats and ocean liners. Among the most impressive items in the collection are models of Thailand's famous Royal Barges. As some of them are rarely seen nowadays, the museum is considered a must-visit. Open daily from 8.00 a.m.-5.00 p.m. Call 0 3524 1195 for more information. The Thai Boat Museum is situated opposite Wat Mahathat, Bang Iean Road.

Prasat Nakhon Luang

This ruin of the royal residence for summer retreats is on the east bank of the Pasak River. It was used by various Kings of Ayutthaya as a temporary camp en route a visit to the Lord Buddha’s Footprint in Saraburi or a trip to Lopburi. Prince Damrong surmised that this residence was built during the reign of King Song Tham when the Footprint was discovered. The original building was later strengthened with brick and plaster during the reign King Prasat Thong. According to the royal annals, King Prasat Thong sent artists to Khmer in 1631 to copy the plan of a Khmer prasat from the capital city of Angkor Thom, hence the name Phra Nakhon Luang. However, only a simplified version of the original prasat was constructed and is currently a part of a temple where the monks help to keep the building in a state of good repair.

Aranyik Village
 
The name "Aranyik" is traditionally related to the history of the Ayutthaya period, when wars were fought in hand-to-hand battles. Aranyik village emerged as a place where sword smiths specialised in battle swords worked. To this day, Aranyik Village remains at the forefront as the country’s leading producer of hand made, high-quality knives and swords

Now also noted for its five-star OTOP products, Aranyik has diversified its product range to suit modern-day markets and requirements. Cutlery, dinnerware and other table accessories are produced and exported. These represent another great tradition that thrives even in modern times.

Production is in the villages of Ban Ton Pho and Ban Pai Nong. However, the OTOP Village is located at Ban Sarai, Tha Chang Sub-District, Nakhon Luang District. It is here that visitors can take a closer look at how Aranyik knives and other related products and made while exploring the villagers’ remarkably charming traditional way of life. Homestay accommodation is available.

To Get There   

The village is now accessible by bus from Chao Phrom Market in Phra Nakhon Si Ayutthaya. Take the bus with a sign reading “Ayutthaya–Tha Ruea”, which runs along the Asia Highway (Highway No.32) towards Nakhon Sawan, pass beyond Somdet Phra Sangkharat Hospital for about 100 metres, turn left under the bridge across the Pa Sak River towards Amphoe Nakhon Luang and follow the direction signs. A boat trip is also available from in front of Chanthara Kasem Palace backward against the Pa Sak River via the Military Arsenal Department’s explosives plant and Amphoe Nakhon Luang, respectively. The boat trip takes approximately 2 hours.

 

Ayutthaya Tourism Centre (ATC)

The centre is located at the province’s old city hall established by the Fine Arts Department and developed to be a tourist information centre by the Tourism Authority of Thailand (TAT). The high reliefs of 6 great kings and queens from the Ayutthaya Kingdom; namely, King U Thong, King Borommatrailokanat, Queen Suriyothai, King Naresuan the Great, King Narai the Great and King Taksin the Great on the facade of the building remain in their original positions.

1st Floor    The right wing in the front serves as TAT’s Tourist Information Centre. Open daily during 8.30 a.m. – 4.30 p.m. For more details, please call Tel. 0 3532 2730–1.

2nd Floor    Exhibition on Phra Nakhon Si Ayutthaya’s tourism presented through a high technological system such as the Computer Touch Screen/Ghost Box. There are 5 sections of the exhibition. Section 1 presents the glorious past of the civilisation. Section 2 showcases tourist attractions within the province. Section 3 is on its architecture constructed on the basis of religious beliefs about the Three Worlds and cosmology. Section 4 introduces the lifestyle of the people of Ayutthaya. Section 5 concludes the exhibition through a video presentation on “Life in the Historical City of Phra Nakhon Si Ayutthaya”. Open daily except for Wednesday during 8.30 a.m.– 4.30 p.m.

3rd Floor   “Ayothaya Contemporary Art Gallery” established with the main objective to be a stage for the expression as well as exchange of ideas and lifestyles among artists, students, academics, tourists as well as interested public. It exhibits creativity in traditional as well as contemporary arts and culture and folk wisdom, in addition, to promoting the province’s cultural and local tourism to be further developed to an international level. The Gallery houses contemporary and temporary arts rooms, and also provides folk wisdom and enhancing art activities intended for the development of the learning potential of youth, intensive and extended courses of children’s art, etc. Open during Thursday – Tuesday (closed on Wednesday), 9.00 a.m.–5.00 p.m. Admission is free. For more information, Tel. 0 3521 0225.

Wat Yai Chai Mongkhon

Wat Yai Chai Mongkhon Wat Yai Chai Mongkhon Located to the Southeast of the island, this temples lofty chedi is visible from most of the town. The monastery was built in 1900 by King U-thong who granted the temple with the name Wat Pa Kaew. The intention was to create a center of Buddhist studies (Ceylonese Sect). As the temple used to be headed by a patriarch, local people also called it Wat Chao Phraya Thai. Located to the Southeast of the island, this temples lofty chedi is visible from most of the town. The monastery was built in 1900 by King U-thong who granted the temple with the name Wat Pa Kaew. The intention was to create a center of Buddhist studies (Ceylonese Sect). As the temple used to be headed by a patriarch, local people also called it Wat Chao Phraya Thai. The present name was given granted to the temple by King Naresuan to commemorate a battle fought against the Crown Prince of Burma in 1592. His momentous victory a single-handed combat on the elephant back brought independence to Ayutthaya after 15 years as a Burmese dependent. Within the complex is a huge image of a reclining Buddha in brick and stucco. The chedi is bell-shaped, about 60 meters high, constructed on a mound of raised ground (15 X 32.4 X 32.4 m.) with steps going up to the Buddhist image placed midway to the top. The chedi itself now has a distinct tilt, but still can be entered via the stairs. The Ubosot or ordination hall is windowless but ventilated by pierced holes stretching down the roof on both walls. Also situated in the compound is King Naresuans statue, which is highly revered by Thais. Admission fee is 20 bahts.

 

Wat Phra Ram

Though founded in 1369, the ruins of Wat Phra Ram date mostly from its restoration in the 15th century. Its main feature is a well-proportioned prang situated on a stepped terrace adorned with chedis. Some of the prang’s stucco decorations, including Buddha images in the walking and standing poses, still remain

Admission is 50 Baht. A package ticket vilid for 30 days is also available at 220  baht each, covering admission to Wat phra Si Sanphet and the Ancient Palace Complex, Wat Mahathat, Wat Ratchaburana, Wat Chai Watthanaram and Wat Maheyong .

 

Wat Phra Mahathat and Wat Ratburana

Wat Mahathat is located in front of the Grand Palace to the east, next to Pa Than Bridge. The temple is believed to be one of Ayutthaya’s oldest temples, possibly built by King Boromaraja I (1370-88). Its central prang, of which only the base remains, once rose to a height of 165 feet. Traces of the original stucco decorations can still be seen on some of the surrounding chedis.

Admission is 50 baht. A package ticket vilid for 30 days is also available at 220  baht each, covering admission to Wat phra Si Sanphet and the Ancient Palace Complex, Wat Phra Ram, Wat Chai Watthanaram and Wat Maheyong .


Wat Na Phra Men

Formerly known as Wat Phra Merurachikaram, the temple is located across the river north of the palace. Although the date of construction is unknown, the temple has been restored a number of times but still has a finely proportioned ubosot and viharn. The latter contains a large Dvaravati stone Buddha seated in European style, his hands on his knees, which some scholars think originated in Nakhon Pathom.

The Ubosot design is very old in the typical Thai style. The most interesting object is the principal Buddha image, which is fully decorated in regal attire. The most interesting fact attributed to the image is that it escaped destruction when the Burmese were burning everything down. It was from the grounds of this temple that the Burmese King Chao Along Phaya decided to fire a cannon at the Grand Palace.

Admission to the temple which is just over the bridge near Si Sanphet Road is 10 bahts.


พระนครศรีอยุธยา : ข้อมูลทั่วไป

ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ากานท์ทวี คนดีศรีอยุธยา

417 ปีแห่งการเป็นราชธานีเก่าแก่ของสยามประเทศ ประกอบด้วย           ราชวงศ์  คือ ราชวงศ์อู่ทอง ราชวงศ์สุพรรณภูมิ ราชวงศ์สุโขทัย ราชวงศ์ปราสาททองและราชวงศ์บ้านพลูหลวง  มีกษัตริย์ปกครองทั้งสิ้น 33 พระองค์ โดยมีปฐมกษัตริย์ คือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) พระนครศรีอยุธยาจึงนับเป็นราชธานีที่มีอายุยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ของชาติไทย  ตลอดระยะเวลา 417 ปี ที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีแห่งราชอาณาจักรไทย มิได้เป็นเพียงช่วงแห่งความเจริญสูงสุดของชนชาติไทยเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างสรรค์อารยธรรมของหมู่มวลมนุษยชาติซึ่งเป็นที่ประจักษ์แก่นานาอารยประเทศอีกด้วย แม้ว่ากรุงศรีอยุธยาจะถูกทำลายเสียหายจากสงครามกับประเทศเพื่อนบ้านหรือจากการบุกรุกขุดค้นของพวกเรากันเอง แต่สิ่งที่ปรากฏให้เห็นในปัจจุบันนี้ยังมีร่องรอยหลักฐานซึ่งแสดงอัจฉริยภาพและความสามารถอันยิ่งใหญ่ของบรรพบุรุษแห่งราชอาณาจักรผู้อุทิศตนสร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรม และความมั่งคั่งไว้ให้แก่ผืนแผ่นดินไทย หรือแม้แต่ชาวโลกทั้งมวล จึงเป็นที่น่ายินดีว่าองค์การยูเนสโก้ โดยคณะกรรมการมรดกโลกได้มีมติรับนครประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และเป็นพื้นที่ที่ได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519 ไว้ในบัญชีมรดกโลก เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ณ กรุงคาร์เทจ ประเทศตูนีเซีย พร้อมกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย-อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรโดยจะมีผลให้ได้รับความคุ้มครองตามอนุสัญญาที่ประเทศต่างๆได้ทำร่วมกัน จึงสมควรที่อนุชนรุ่นหลังจะได้ไปศึกษาเยี่ยมชมเมืองหลวงเก่าของเราแห่งนี้

     สถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาส่วนใหญ่เป็นโบราณสถาน ได้แก่ วัด และพระราชวังต่างๆ  พระราชวังในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีอยู่ 3 แห่ง คือ พระราชวังหลวง  วังจันทรเกษมหรือวังหน้า  และวังหลัง นอกจากนี้ยังมีวังและตำหนักนอกอำเภอพระนครศรีอยุธยาซึ่งเป็นที่สำหรับเสด็จประพาส ได้แก่ พระราชวังบางปะอิน ในเขตอำเภอบางปะอิน และตำหนักนครหลวง ในเขตอำเภอนครหลวง

     ภูมิประเทศของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำสายใหญ่ไหลผ่าน 3 สาย คือ แม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านทางด้านทิศตะวันตกและทิศใต้ แม่น้ำป่าสักไหลผ่านทางทิศตะวันออก และแม่น้ำลพบุรี (ปัจจุบันเป็นคลองเมือง)ไหลผ่านทางด้านทิศเหนือ แม่น้ำสามสายนี้ไหลมาบรรจบกันโอบล้อมรอบพื้นที่ของตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา  ตัวเมืองจึงมีลักษณะเป็นเกาะ  เราจะเห็นบ้านเรือนปลูกเรียงรายหนาแน่นตามสองข้างฝั่งแม่น้ำแสดงถึงวิถีชีวิตของผู้คนที่ผูกพันอยู่กับสายน้ำมายาวนาน

     จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งสิ้นประมาณ 2,556 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 อำเภอ ได้แก่ อำเภอพระนครศรีอยุธยา อำเภอนครหลวง อำเภอภาชี อำเภอบ้านแพรก อำเภอบางซ้าย อำเภอบางไทร อำเภอลาดบัวหลวง อำเภอบางบาล อำเภอมหาราช อำเภอบางปะหัน อำเภอเสนา อำเภออุทัย อำเภอบางปะอิน อำเภอผักไห่ อำเภอท่าเรือ และอำเภอวังน้อย

อาณาเขต 

ทิศเหนือ  ติดต่อกับจังหวัดลพบุรี อ่างทอง และสระบุรี 
ทิศใต้  ติดต่อกับจังหวัดปทุมธานี และนนทบุรี 
ทิศตะวันออก  ติดต่อกับจังหวัดสระบุรี 
ทิศตะวันตก  ติดต่อกับจังหวัดสุพรรณบุรี  

หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ 

  1. ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร. 0 3533 6550, 0 3533 6647 
  2. ศูนย์ท่องเที่ยวอยุธยา อาคารศาลากลางจังหวัดหลังเก่า โทร. 0 3532 2730-1
  3. สถานีตำรวจภูธรอำเภอพระนครศรีอยุธยา โทร. 0 3524 1001, 0 3524 1608
  4. โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา โทร. 0 3524 1027, 0 3524 1728
  5. โรงพยาบาลราชธานี โทร. 0 3533 5555–61
  6. สถานีเดินรถโดยสารประจำทาง โทร. 0 3533 5304
  7. สถานีรถไฟ โทร. 0 3524 1521
  8. ตำรวจท่องเที่ยว โทร. 1155
  9. ตำรวจทางหลวง  โทร. 1193 

    Link ที่น่าสนใจ

ททท. สำนักงานพระนครศรีอยุธยา 
http://www.tourismthailand.org/ayutthaya
ข้อมูลตำบลและสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
http://www.thaitambon.com
สำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
http://www.ayutthaya.go.th

พระนครศรีอยุธยา : ข้อมูลการเดินทาง

ข้อมูลการเดินทางของ จ. พระนครศรีอยุธยา 

รถยนต์
     จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้หลายเส้นทางดังนี้
1. ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ผ่านประตูน้ำพระอินทร์ แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 32 เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 309 เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

2. ใช้ทางหลวงหมายเลข 304 (ถนนแจ้งวัฒนะ) หรือทางหลวงหมายเลข 302 (ถนนงามวงศ์วาน) เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 306 (ถนนติวานนท์) แล้วข้ามสะพานนนทบุรีหรือสะพานนวลฉวี ไปยังจังหวัดปทุมธานีต่อด้วยเส้นทาง ปทุมธานี-สามโคก-เสนา (ทางหลวงหมายเลข 3111) เลี้ยวแยกขวาที่อำเภอเสนา เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3263 เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

3. ใช้เส้นทางกรุงเทพฯ-นนทบุรี-ปทุมธานี ทางหลวงหมายเลข 306 ถึงทางแยกสะพานปทุมธานี เลี้ยวเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 347 แล้วไปแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 3309 ผ่านศูนย์ศิลปาชีพบางไทร อำเภอบางปะอิน เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

รถไฟ
    
การเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสามารถใช้บริการรถไฟโดยสารที่มีปลายทางสู่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีบริการทุกวัน ขบวนรถไฟจะผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในเขตอำเภอบางปะอิน อำเภอพระนครศรีอยุธยา และอำเภอภาชี แล้วรถไฟจะแยกไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีชุมทางบ้านภาชี นอกจากนี้การรถไฟฯ ยังจัดขบวนรถจักรไอน้ำเดินทางระหว่างกรุงเทพฯ-พระนครศรีอยุธยาในโอกาสพิเศษ ปีละ 3 ขบวน คือ วันที่ 26 มีนาคม (วันสถาปนาการรถไฟฯและเป็นวันที่ระลึกถึงการเปิดทางรถไฟสายแรกวิ่งระหว่างกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2433) วันที่ 23 ตุลาคม (วันปิยมหาราช เพื่อรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงให้กำเนิดกิจการรถไฟไทย) และวันที่ 5 ธันวาคม (วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช) สอบรายเพิ่มเติมได้ที่ การรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 0 2220 4334, 0 2220 4444, 0 2223 7010, 0 2223 7020, 1690 หรือที่เว็บไซต์ www.railway.co.th (สถานีรถไฟอยุธยามีบริการรับฝากสัมภาระ)
      
รถโดยสารประจำทาง
     บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการรถโดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาทุกวัน วันละหลายเที่ยว โดยออกจากสถานีขนส่งหมอชิต ถนนกำแพงเพชร 2 รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 กรุงเทพฯ-พระนครศรีอยุธยา และรถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 กรุงเทพฯ-ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร-พระนครศรีอยุธยา สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 2936 2852-66 หรือที่เว็บไซต์ www.transport.co.th
     รถตู้โดยสารจากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิและฟิวเจอร์ปาร์ค รังสิต
 
เรือ
    
การเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาโดยทางน้ำเป็นที่นิยมของชาวต่างประเทศ เพราะนอกจากจะได้ชมทัศนียภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนริมสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาแล้ว ยังเป็นการย้อนให้เห็นถึงประวัติศาสตร์สมัยที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และมีการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติทางเรือบนสายน้ำเจ้าพระยาแห่งนี้  บริการเรือนำเที่ยวจากกรุงเทพฯไปพระนครศรีอยุธยามีดังนี้
 
1. เรือมโนราห์ 2 ออกจากท่าโรงแรมแมริออท รีสอร์ทแอนด์สปา ใช้เวลา 3 วัน 2 คืน แวะเที่ยวชมตั้งแต่กรุงเทพฯ    วัดอรุณฯ    พิพิธภัณฑ์เรือ  ผ่านเกาะเกร็ด นนทบุรี   วัดปทุมคงคา แวะวัดต่างๆ ในพระนครศรีอยุธยา   บางปะอิน  โทร.  0 2476 0021-2

2. เรือมิตรเจ้าพระยา  เรือออกจากท่าช้างเวลา 08.00 น. ทุกวันอาทิตย์ แวะศูนย์ศิลปาชีพบางไทร บางปะอิน  ขากลับแวะวัดเฉลิมพระเกียรติ และกลับถึงกรุงเทพฯเวลา 18.00 น. อัตราค่าโดยสารผู้ใหญ่ 390 บาท เด็ก 300 บาท   โทร 0 2623 6169, 0 2225 6179

3. เรือเมฆขลา  มีบริการนำเที่ยวสู่พระราชวังบางปะอินและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แบบ 2 วัน 1 คืน พร้อมอาหารและเครื่องดื่ม  โดยเรือจะออกจากท่าโรงแรมแม่น้ำ เวลา 14.30 น. และเดินทางกลับโดยรถยนต์ (หรือจะเลือกเดินทางไปโดยรถยนต์ออกเวลา 07.00 น.และเดินทางกลับโดยทางเรือ) อัตราค่าโดยสาร 4,500-7,600 บาท  โทร. 0 2256 6666

4. เรือริเวอร์ซันครุ้ยส์  บริการเรือนำเที่ยวไปเช้า-เย็นกลับ พร้อมอาหาร สู่พระราชวังบางปะอินและนำเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเช่น วัดมหาธาตุ วัดโลกยสุธาราม รถออกจากศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้เวลา 08.00 น.และเดินทางกลับโดยทางเรือเวลา 16.30 น. อัตราค่าโดยสารคนละ 1,800 บาท โทร. 0 2266 9125-6, 0 2266 9316

5. เรือฮอไรซันครุ้ยส์  มีบริการเรือนำเที่ยวทุกวัน สู่พระราชวังบางปะอิน นำเที่ยวพระนครศรีอยุธยา เช่น วัดใหญ่ชัยมงคล วัดมหาธาตุ วัดพระศรีสรรเพชญ์ พร้อมอาหาร รถออกจากลานจอดรถใกล้โรงแรมแชงกรีล่าเวลา 08.00 น. เดินทางกลับโดยทางเรือ อัตราค่าโดยสารคนละ 1,600 บาท โทร. 0 2236 7777 ต่อ 6204-5, 0 2236 9952

6. เวิลด์ทราเวิล เซอร์วิส จัดรายการนำเที่ยวสู่พระราชวังบางปะอินและจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นประจำทุกวัน พร้อมอาหารบุฟเฟต์ รถออกจากท่าริเวอร์ซิตี้เวลาประมาณ 07.30 น.กลับถึงเวลา 16.30 น. เดินทางกลับทางเรือ อัตราค่าบริการคนละ 1,600 บาท โทร. 0 2234 4875

7. เรือมณฑา (Classic Barges) บริการเรือเหมานำเที่ยวอยุธยา แบบ 2 วัน 1 คืน และ 3 วัน 2 คืน ติดต่อโทร. 0 1813 1495 เว็บไซต์ http://www.classic-barges.com  

8. อยุธยา โบ๊ท แอนด์ ทราเวิล จัดรายการนำเที่ยวไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไปเช้า-เย็นกลับ และ 2 วัน 1 คืน พักโฮมสเตย์  ทัวร์ขี่จักรยาน ล่องเรือรอบเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ติดต่อโทร. 0 2746 1414, 08 1456 9862, 08 9456 3700, 08 1733 5687 เว็บไซต์ http://www.ayutthaya-boat.com  

การคมนาคมภายในตัวจังหวัด จ.พระนครศรีอยุธยา
 

การเดินทางในตัวเมือง
     มีรถตุ๊กตุ๊กบริการในอัตรา 20 - 40 บาทต่อคนขึ้นอยู่กับระยะทาง ค่าบริการรถตุ๊กตุ๊กจากสถานีรถไฟไปยังตัวเมืองราคาประมาณ 30 บาท ค่าบริการภายในเกาะเมืองราคา 20 บาท ค่าเช่าตุ๊กตุ๊กต่อชั่วโมงประมาณ 200 บาท 
     นอกจากนี้ยังมีบริการรถสองแถววิ่งจากสถานีรถไฟไปยังตัวเมือง และจากตัวเมืองไปยังบางปะอิน (รถออกจากตลาดเจ้าพรหม) ราคาประมาณ 30 บาท ใช้เวลาเดินทาง 50 นาที

การเดินทางจากอำเภอเมืองพระนครศรีอยุธยาไปยังอำเภอต่าง ๆ

อำเภอพระนครศรีอยุธยา - กิโลเมตร 
อำเภอบางบาล  10 กิโลเมตร
อำเภอบางปะหัน 13 กิโลเมตร
อำเภออุทัย 15 กิโลเมตร 
อำเภอบางปะอิน 17 กิโลเมตร 
อำเภอนครหลวง  20 กิโลเมตร 
อำเภอวังน้อย  20 กิโลเมตร
อำเภอเสนา  20 กิโลเมตร
อำเภอมหาราช 25 กิโลเมตร
อำเภอภาชี 25 กิโลเมตร
อำเภอผักไห่ 29 กิโลเมตร 
อำเภอบางซ้าย 34 กิโลเมตร 
อำเภอบางไทร 45 กิโลเมตร
อำเภอบ้านแพรก 53 กิโลเมตร 
อำเภอท่าเรือ  60 กิโลเมตร 
อำเภอลาดบัวหลวง 65 กิโลเมตร

การเดินทางจากพระนครศรีอยุธยาไปยังจังหวัดใกล้เคียง

อ่างทอง 31 กิโลเมตร
สุพรรณบุรี 53 กิโลเมตร 
สระบุรี  63 กิโลเมตร 
สิงห์บุรี 71 กิโลเมตร

พระนครศรีอยุธยา : วัฒนธรรมประเพณี

ประเพณีสงกรานต์กรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

กำหนดจัดงาน
วันที่  12 - 14 เมษายน 2552

พื้นที่จัดงาน
ถนนบางเอียน (หน้าองค์การโทรศัพท์)  และบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา วิหารพระมงคลบพิตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา



กิจกรรมในงาน
- แต่งกายแบบไทยเข้าวัด ทำบุญตักบาตร อุทิศเป็นพุทธบูชา สรงน้ำพระศักดิ์สิทธิ์ ปล่อยนก ปล่อยปลา รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ
- เล่นน้ำสงกรานต์กับช้าง

12 เมษายน 2552
16.00 น. - กิจกรรมถนนอาหาร สงกรานต์กรุงเก่า
               - ชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย
             -  การประกวดอาหาร " ต้มยำกุ้งแม่น้ำรสเด็ดแบบอยุธยา"
18.15 น. - พิธีเปิดงาน โดยนายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ ประธานกรรมการ ททท.
              - ชมการแสดงการประชันดนตรีไทยปี่พาทย์ เสภา และการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย

13 เมษายน 2552 
07.00 น. - ร่วมทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ จำนวน 499 รูป บริเวณลานหน้าวิหารพระมงคลบพิตร 
               - รดน้ำอวยพรผู้ใหญ่
               - ชมขบวนแห่งานประเพณีสงกรานต์กรงเก่า ร่วมเล่นน้ำสงกรานต์กับช้าง 
16.00 น.  - กิจกรรมถนนอาหาร สงกรานต์กรุงเก่า
                - ชมการแสดงการประชันดนตรีไทยปี่พาทย์ เสภาและการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย

14 เมษายน 2552
16.00 น. - กิจกรรมถนนอาหาร สงกรานต์กรุงเก่า
              - ชมการแสดงการประชันดนตรีไทยปี่พาทย์ เสภาและการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
กองการศึกษา สำนักงานเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ 0 3525 2168 
ททท. สำนักงานพระนครศรีอยุธยา โทร. 0 3524 6076-7, 0 3532 2730-1

พระนครศรีอยุธยา : สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ

พระราชวังบางปะอิน          
อยู่ห่างจากเกาะเมืองมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาตามพระราชพงศาวดารกล่าวว่า พระเจ้าปราสาททองเป็นผู้สร้างพระราชวังแห่งนี้ เนื่องจากบริเวณเกาะบางปะอินเป็นที่ประสูติของพระองค์และเป็นเคหสถานเดิมของพระมารดาซึ่งเป็นหญิงชาวบ้านที่สมเด็จพระเอกาทศรถทรงพบเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินโดยเรือพระที่นั่งแล้วเรือเกิดล่มตรงเกาะบางปะอิน พระเจ้าปราสาททองทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างวัดขึ้นบนเกาะบางปะอินตรงบริเวณเคหสถานเดิมของพระมารดาในปี พ.ศ. 2175 พระราชทานชื่อว่า “วัดชุมพลนิกายาราม” และให้ขุดสระน้ำสร้างพระราชนิเวศน์ขึ้นกลางเกาะเป็นที่สำหรับเสด็จประพาส แล้วสร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งที่ริมสระน้ำนั้นพระราชทานนามว่า พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ พระราชวังบางปะอิน ได้รับการบูรณะฟื้นฟูอีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งสำหรับเป็นที่ประทับ มีเรือนแถวสำหรับฝ่ายในและมีพลับพลาริมน้ำ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ขึ้น ดังที่ปรากฏให้เห็นในปัจจุบันนี้ ซึ่งยังคงใช้เป็นที่ประทับและต้อนรับพระราชอาคันตุกะและพระราชทานเลี้ยงรับรองในโอกาสต่าง ๆ เป็นครั้งคราว พระราชวังบางปะอินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เขตพระราชฐานชั้นนอกและเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นนอกใช้เป็นที่สำหรับการออกมหาสมาคมและพระราชพิธีต่างๆ ส่วนเขตพระราชฐานชั้นในใช้เป็นที่ประทับส่วนพระองค์

สิ่งที่น่าสนใจในเขตพระราชวังชั้นนอกของพระราชวังบางปะอิน มีดังนี้ 

หอเหมมณเฑียรเทวราช เป็นปรางค์ศิลาจำลองแบบจากปรางค์ขอม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้สร้างเมื่อ พ.ศ. 2423 เพื่อทรงอุทิศถวายแด่พระเจ้าปราสาททองกษัตริย์กรุงศรีอยุธยา ภายในเป็นที่ประดิษฐานพระรูปฉลองพระองค์สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ เป็นพระที่นั่งปราสาทโถงทรงจตุรมุขอยู่กลางสระน้ำ รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้สร้างเมื่อ พ.ศ. 2419 โดยจำลองแบบมาจากพระที่นั่งอาภรณ์พิโมกข์ปราสาทในพระบรมมหาราชวังที่กรุงเทพฯและพระราชทานนาม “ไอศวรรย์ทิพยอาสน์” ตามพระที่นั่งองค์แรกซึ่งพระเจ้าปราสาททองโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น เดิมพระที่นั่งสร้างด้วยไม้ทั้งองค์ ต่อมารัชกาลที่ 6 ทรงโปรดเกล้าฯให้เปลี่ยนเสาและพื้นเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหมด ปัจจุบันเป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูปหล่อสัมฤทธิ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในฉลองพระองค์เต็มยศจอมพลทหารบก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้น

พระที่นั่งวโรภาษพิมาน อยู่ทางตอนเหนือของ “สะพานเสด็จ” รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2419 เดิมเป็นเรือนไม้สองชั้นใช้เป็นที่ตั้งประทับและท้องพระโรงร่วมกันต่อมาโปรดเกล้าฯให้รื้อสร้างใหม่ตามแบบสถาปัตยกรรมตะวันตก ก่อด้วยอิฐ ทรงวิหารกรีกแบบคอรินเธียรออร์เดอร์ มีมุขตอนหน้า  ใช้เป็นท้องพระโรงสำหรับเสด็จออกขุนนางในงานพระราชพิธี และเคยเป็นที่รับรองแขกเมืองหลายครั้ง สิ่งที่น่าชมภายในพระที่นั่งวโรภาษพิมานได้แก่ อาวุธโบราณ ตุ๊กตาหินสลักด้วยฝีมือประณีตและภาพเขียนสีน้ำมันเป็นเรื่องราวภาพชุดพระราชพงศาวดาร อีกทั้งภาพวรรณคดีไทยเรื่องอิเหนา พระอภัยมณี สังข์ทอง และจันทรโครพ ตลอดจนเป็นที่เก็บเครื่องราชบรรณาการต่างๆ

สภาคารราชประยูร  เป็นตึกสองชั้นริมน้ำ ตรงข้ามพระที่นั่งวโรภาษพิมาน สร้างเมื่อ พ.ศ. 2422 ในรัชกาลที่ 5 สำหรับใช้เป็นที่ประทับของเจ้านายฝ่ายหน้า และข้าราชบริพาร

ส่วนเขตพระราชฐานชั้นในเชื่อมต่อกับเขตพระราชฐานชั้นนอกด้วยสะพานที่เชื่อมจากพระที่นั่งวโรภาษพิมานกับประตูเทวราชครรไลซึ่งเป็นประตูทางเข้าพระราชฐาน สะพานนี้มีลักษณะพิเศษคือ มีแนวฉากคล้ายบานเกล็ดกั้นกลางตลอดแนวสะพานเพื่อแบ่งเป็นทางเดินของฝ่ายหน้าด้านหนึ่งและฝ่ายในอีกด้านหนึ่งซึ่งฝ่ายในสามารถมองลอดออกมาโดยตัวเองไม่ถูกแลเห็น บริเวณพระราชฐานชั้นในประกอบด้วยที่ประทับ พลับพลาและศาลาต่างๆสิ่งที่น่าสนใจได้แก่
พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร อยู่ทางทิศตะวันออกตรงข้ามกับสระน้ำ เป็นพระที่นั่งเรือนไม้ สองชั้นตามแบบชาเลต์ของสวิส คือมีเฉลียงชั้นบนและชั้นล่าง ทาสีเขียวอ่อนและสีเขียวแก่สลับกัน ภายในประดับตกแต่งด้วยเครื่องเรือนไม้มะฮอกกานีจัดสลับลายทองทับที่สั่งจากยุโรปทั้งสิ้น นอกนั้นเป็นสิ่งของหายากในประเทศอันเป็นเครื่องราชบรรณาการจากหัวเมืองต่างๆ ทั่วราชอาณาเขตรอบๆ มีสวนดอกไม้สวยงาม เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งที่พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรได้เกิดเพลิงไหม้ขณะที่มีการซ่อมแซมเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ทำให้พระที่นั่งเสียหายไปกับกองเพลิงหมดสิ้นทั้งองค์คงเหลือแต่หอน้ำลักษณะคล้ายหอรบของยุโรปเท่านั้น ต่อมาในปีพ.ศ.2531 สำนักพระราชวังได้กราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสร้างขึ้นใหม่ตามแบบเดิมทุกประการแต่เปลี่ยนวัสดุจากไม้เป็นอาคารคอนกรีตแทน

พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ พระที่นั่งองค์นี้มีนามเป็นภาษาจีนว่า “เทียน เม่ง เต้ย” (เทียน=เวหา, เม่ง=จำรูญ,เต้ย=พระที่นั่ง) พระยาโชดึกราชเศรษฐี (ฟัก)  เป็นนายงานสร้างถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2432 เพื่อเป็นพระที่นั่งสำหรับประทับในฤดูหนาว พระที่นั่งนี้เคยใช้เป็นที่รับรองเจ้านายต่างประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5 มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมแบบจีนมีลวดลายแกะสลักงดงามวิจิตรยิ่ง โถงด้านหน้าปูด้วยกระเบื้องแบบกังไสเขียนด้วยมือทุกชิ้น

เก๋งบุปผาประพาส  เป็นตำหนักเก๋งเล็กอยู่กลางสวนริมสระน้ำในเขตพระราชวังชั้นใน สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อปี พ.ศ. 2424

หอวิฑูรทัศนา  เป็นพระที่นั่งหอสูงยอดมน ตั้งอยู่กลางเกาะน้อยในสวนเขตพระราชวังชั้นใน ระหว่างพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรกับพระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ เป็นพระที่นั่ง 3 ชั้น มีบันไดเวียน เป็นหอส่องกล้องชมภูมิประเทศบ้านเมืองโดยรอบ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อปี พ.ศ. 2424

อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์  หรือเรียกเป็นสามัญว่า อนุสาวรีย์พระนางเรือล่ม  ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของพระราชวัง ก่อสร้างด้วยหินอ่อนก่อเป็นแท่ง 6 เหลี่ยม สูง 3 เมตร บรรจุพระสริรังคารของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมทั้งจารึกคำไว้อาลัยที่ทรงพระราชนิพนธ์ด้วยพระองค์เองไว้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

อนุสาวรีย์พระอัครชายาเธอพระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์และเจ้าฟ้าสามพระองค์หรืออนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ ในปีพ.ศ. 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเศร้าโศกเสียพระทัยเป็นอย่างยิ่งอีกครั้งหนึ่ง ด้วยทรงสูญเสียพระอัครชายาเธอฯ พระราชโอรส และพระราชธิดาถึง 3 พระองค์ ในปีเดียวกัน คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าสิริราชกกุธภัณฑ์ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2430 พระอรรคชายาเธอพระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2430 และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2430 ดังนั้นในปี พ.ศ. 2431 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างอนุสาวรีย์ที่ระลึกทำด้วยหินอ่อนแกะสลักพระรูปเหมือนไว้ใกล้กับอนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี
 
การเดินทาง
รถยนต์ จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นถนนพหลโยธิน เมื่อถึงประตูน้ำพระอินทร์แล้วให้ข้ามสะพานวงแหวนรอบนอกจะมีทางแยกโดยให้เลี้ยวซ้ายประมาณบริเวณกิโลเมตรที่ 35 ไปพระราชวังบางปะอินเป็นระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร หรือจะผ่านเข้ามายังตัวเมืองอยุธยาพอมาถึงเจดีย์วัดสามปลื้ม (เจดีย์กลางถนน) ให้เลี้ยวซ้ายโดยผ่านวัดใหญ่ชัยมงคล วัดพนัญเชิง ตัวอำเภอบางปะอินพอมาถึงสถานีรถไฟบางปะอินแล้วให้เลี้ยวขวาไปตามเส้นทางจนถึงพระราชวังบางปะอิน

รถโดยสารประจำทาง มีรถโดยสารปรับอากาศสายกรุงเทพฯ-บางปะอิน ออกจากสถานีขนส่งหมอชิต ถนนกำแพงเพชร 2 ทุกวัน สอนถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 2936 2852-66 หรือที่เว็บไซท์ www.transport.co.th
รถไฟ สามารถขึ้นรถไฟจากสถานีรถไฟหัวลำโพงมาสถานีรถไฟอำเภอบางปะอิน จากนั้นต่อรถสองแถว รถสามล้อเครื่อง หรือรถจักรยานยนต์ไปยังพระราชวังบางปะอิน

พระราชวังบางปะอินเปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.00–17.00 น. (เปิดจำหน่ายบัตร 08.00–16.00 น.) อัตราค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก นักเรียน นิสิตนักศึกษา (ในเครื่องแบบ ต้องมีบัตรประจำตัวนักศึกษา) 20 บาท พระภิกษุ สามเณร ไม่เสียค่าเข้าชม ชาวต่างประเทศ 100 บาท  มีทางลาดสำหรับผู้พิการและรถกอล์ฟให้เช่า นอกจากนี้ยังมีบริการเรือ River Jet ออกจากท่าเรือพระราชวังบางปะอิน ล่องรอบเกาะวัดนิเวศธรรมประวัติ ใช้เวลาประมาณ 25 นาที ระหว่างเวลา 9.00-15.00 น. (วันเสาร์-อาทิตย์ ถึง 16.00น. เรือออกทุกชั่วโมง หยุดวันพุธ-วันพฤหัสบดี) สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักพระราชวังบางปะอิน โทร. 0 3526 1044, 0 3526 1549, 0 3526 1673 

 

วัดพนัญเชิงวรวิหาร

ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลคลองสวนพลู ริมแม่น้ำป่าสักทางทิศใต้ฝั่งตรงข้ามของเกาะเมือง ห่างจากตัวเมืองราว 5 กิโลเมตร หรือเมื่อออกจากวัดใหญ่ชัยมงคล ให้เลี้ยวซ้ายตรงไปตามถนนประมาณ 1 กิโลเมตร ก็จะเห็นวัดพนัญเชิงอยู่ทางขวามือ 

วัดพนัญเชิงเป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรวิหาร แบบมหานิกาย เป็นวัดที่มีมาก่อนการสร้างกรุงศรีอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง ตามพงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระเจ้าสายน้ำผึ้งซึ่งครองเมืองอโยธยาเป็นผู้สร้างขึ้นตรงที่พระราชทานเพลิงศพพระนางสร้อยดอกหมาก และพระราชทานนามวัดว่า “วัดพระเจ้าพระนางเชิง” หรือ "วัดพระนางเชิง"พระวิหาร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดใหญ่ ตามพงศาวดารกล่าวว่าสร้างเมื่อ พ.ศ. 1867 ก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา 26 ปี เดิมชื่อ “พระพุทธเจ้าพนัญเชิง” (พระเจ้าพะแนงเชิง) แต่ในรัชกาลที่ 4 เมื่อมีการบูรณะปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปองค์นี้ได้พระราชทานนามใหม่ว่า “พระพุทธไตรรัตนนายก” (ชาวบ้านนิยมเรียกหลวงพ่อโต ชาวจีนนิยมเรียกว่าซำปอกง ผู้คุ้มครองการเดินทางทางทะเล) เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นศิลปะแบบอู่ทองปางมารวิชัยลงรักปิดทอง มีขนาดหน้าตักกว้าง 14 เมตร สูง 19.13 เมตร ฝีมือปั้นงดงามมาก เบื้องหน้ามีตาลปัตรหรือพัดยศ และพระอัครสาวกที่ทำด้วยปูนปั้นลงรักปิดทองประดิษฐานอยู่เบื้องซ้ายและขวา อาจนับได้ว่าเป็นพระพุทธรูปนั่งสมัยอยุธยาตอนต้นที่มีขนาดใหญ่มากที่สุดที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน เป็นที่เคารพสักการะของชาวจังหวัดอยุธยาและจังหวัดใกล้เคียง เข้าใจว่าเมื่อสร้างพระองค์ใหม่เสร็จแล้วจึงสร้างพระวิหารหลวงขึ้นคลุมอีกทีหนึ่ง ตามตำนานกล่าวว่า เมื่อคราวพระนครศรีอยุธยาจะเสียกรุงแก่ข้าศึกนั้น พระพุทธรูปองค์นี้มีน้ำพระเนตรไหลออกมาทั้งสองข้าง ส่วนในพระวิหาร เสาพระวิหารเขียนสีเป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์ก้านแย่งสีแดงที่หัวเสามีปูนปั้นเป็นบัวกลุ่มที่มีกลีบซ้อนกันหลายชั้น ผนังทั้งสี่ด้านเจาะเป็นซุ้มเล็กประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดเล็กโดยรอบจำนวน 84,000 องค์เท่ากับจำนวนพระธรรมขันธ์ตามความเชื่อทางพุทธศาสนา ส่วนประตูทางเข้าด้านหน้าซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออก เป็นบานประตูไม้แกะสลักลอยตัวเป็นลายก้านขดยกดอกนูนออกมา เป็นลักษณะของศิลปะอยุธยาที่งดงามมากแห่งหนึ่ง พระอุโบสถ ประดิษฐานพระพุทธรูป 5 องค์ ศิลปะสุโขทัย วิหารเซียน อยู่ด้านหน้าของพระวิหารหลวงเป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งแต่เดิมมีภาพจิตรกรรมเขียนไว้บนผนังทั้งสี่ด้าน แต่ถูกโบกปูนทับไปแล้วเมื่อคราวบูรณะปฏิสังขรณ์ ข้างในพระวิหารหลังนี้ประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นศิลปะแบบอยุธยา ศาลาการเปรียญ หลังเก่าย้ายจากริมแม่น้ำมาอยู่ด้านหลังของวัด เป็นศาลาทรงไทยสร้างด้วยไม้ หน้าบันประดับช่อฟ้าใบระกา หางหงส์ บริเวณคอสอง(ขื่อ) ด้านในศาลามีภาพเขียนสีบนผ้าเป็นภาพพุทธประวัติอยู่โดยรอบ มีตัวอักษรเขียนไว้ว่าภาพเขียนสีนี้เขียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2472 ภายในศาลามีธรรมาสน์อยู่ 1 หลังสลักลวดลายสวยงามเป็นศิลปะแบบรัตนโกสินทร์ภายในวัดพนัญเชิงยังจะพบ ตึกเจ้าแม่สร้อยดอกหมาก ตั้งอยู่ริมแม่น้ำป่าสัก ก่อสร้างเป็นตึกแบบจีนเป็นที่ประดิษฐานรูปปั้นเจ้าแม่สร้อยดอกหมากในเครื่องแต่งกายแบบจีน ชาวจีนเรียกว่า “จูแซเนี๊ย” เป็นที่เคารพนับถือของชาวจีนทั่วไป สำหรับชาวต่างประเทศเสียค่าเข้าชมคนละ 20 บาท

งานประเพณีทิ้งกระจาดจัดเป็นประจำทุกปี ในช่วงกลางเดือน 7 ของจีน หรือตรงกับเดือน 9 ของไทย (ประมาณปลายเดือนสิงหาคมถึงต้นเดือนกันยายน)

ความเชื่อและวิธีการบูชา  ความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อโตเป็นที่กล่าวถึงกันอย่างกว้างขวาง โดยเชื่อว่าหากทำการค้าขายใด ๆ แล้วมาตั้งจิตอธิษฐานต่อหน้าหลวงพ่อ จะทำให้ซื้อง่ายขายคล่อง การค้าร่ำรวย และการงานรุ่งเรือง ถ้ามีเด็กเล็กที่เจ็บไข้ได้ป่วยง่าย นำมาถวายให้เป็นลูกของหลวงพ่อ หรือจุดธูปเทียนอธิษฐาน บารมีของท่านจะปกป้องคุ้มครอง ช่วยให้หายวันหายคืน ส่วนใหญ่นิยมบนบานด้วยการถวายผ้าห่มหลวงพ่อโต ซึ่งเชื่อว่าท่านจะอวยพรให้สัมฤทธิ์ผลดังใจหมาย

วัดพระศรีสรรเพชญ์

ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตรในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นวัดสำคัญที่สร้างอยู่ในพระราชวังหลวงเทียบได้กับวัดพระศรีรัตนศาสดารามแห่งกรุงเทพมหานครหรือวัดมหาธาตุแห่งกรุงสุโขทัย ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสร้างพระราชมณเฑียรเป็นที่ประทับที่บริเวณนี้ ต่อมาสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงย้ายพระราชวังขึ้นไปทางเหนือและอุทิศที่ดินเดิมให้สร้างวัดขึ้นภายในเขตพระราชวังและโปรดเกล้าฯให้สร้างเขตพุทธาวาสขึ้น เพื่อเป็นที่สำหรับประกอบพิธีสำคัญต่างๆ จึงเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา

ต่อมาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระสถูปเจดีย์ใหญ่สององค์เมื่อ พ.ศ.2035 องค์แรกทางทิศตะวันออกเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถพระราชบิดาและองค์ที่สองคือองค์กลางเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 พระบรมเชษฐา ต่อมาในปี พ.ศ. 2042 ทรงสร้างพระวิหารขนาดใหญ่และในปี พ.ศ.2043 ทรงหล่อพระพุทธรูปยืนสูง 8 วา (16 เมตร) หุ้มด้วยทองคำหนัก 286 ชั่ง (ประมาณ 171 กิโลกรัม) ประดิษฐานไว้ในวิหาร พระนามว่า “พระศรีสรรเพชญดาญาณ” ซึ่งภายหลังเมื่อคราวเสียกรุง พ.ศ. 2310 พม่าได้เผาลอกทองคำไปหมด  ในสมัยรัตนโกสินทร์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญชิ้นส่วนชำรุดของพระประธานองค์นี้ลงมากรุงเทพฯและบรรจุชิ้นส่วนซึ่งบูรณะไม่ได้เหล่านั้นไว้ในเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้นแล้วพระราชทานชื่อเจดีย์ว่า “เจดีย์สรรเพชญดาญาณ”

สำหรับเจดีย์องค์ที่สามถัดมาทางทิศตะวันตก สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (พระหน่อพุทธางกูร) พระราชโอรสได้โปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เจดีย์สามองค์นี้เป็นเจดีย์แบบลังกา ระหว่างเจดีย์แต่ละองค์มีมณฑปก่อคั่นไว้ซึ่งคงจะมีการสร้างในราวรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง และมีร่องรอยการบูรณะปฏิสังขรณ์หนึ่งครั้งในราวรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามได้มีการบูรณะเจดีย์แห่งนี้จนมีสภาพที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน 

เวลาเปิด-ปิด : เปิดให้เข้าชมทุกวัน 07.00–18.30 น. 

อัตราค่าเข้าชม : ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 50 บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได้ ชาวไทย 40 บาท ชาวต่างประเทศ 220 บาท โดยบัตรนี้สามารถเข้าชมวัดและพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้  ภายในระยะเวลา 30 วัน อันได้แก่ วัดพระศรีสรรเพชญ์และพระราชวังหลวง  วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดมเหยงค์ วัดไชยวัฒนาราม, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ชาวไทย 30 บาท ชาวต่างประเทศ 150 บาท และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ชาวไทย 20 บาท ชาวต่างประเทศ 100 บาท

สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานศิลปากรที่ 3 โทร. 0 3524 2501, 0 3524 2448  หรือ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา โทร. 0 3524 2284, 0 3524 2286  

หมายเหตุ ตั้งแต่เวลาประมาณ 19.30-21.00 น. จะมีการส่องไฟชมโบราณสถาน

 

วัดไชยวัฒนาราม

ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกนอกเกาะเมือง เป็นวัดที่พระเจ้าปราสาททอง กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาองค์ที่ 24 (พ.ศ. 2173-2198) โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2173 ได้ชื่อว่าเป็นวัดที่มีความงดงามมากแห่งหนึ่งในกรุงศรีอยุธยา  ความสำคัญอีกประการหนึ่งคือ วัดนี้เป็นที่ฝังพระศพของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์(เจ้าฟ้ากุ้ง) กวีเอกสมัยอยุธยาตอนปลายกับเจ้าฟ้าสังวาลย์ซึ่งต้องพระราชอาญาโบยจนสิ้นพระชนม์ในรัชสมัยของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ


สิ่งที่น่าชมภายในวัด ได้แก่
พระปรางค์ศรีรัตนมหาธาตุ เป็นปรางค์ประธานของวัดตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสและที่มุมฐานมีปรางค์ทิศประจำอยู่ทั้งสี่มุม การที่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองซึ่งเป็นกษัตริย์สมัยอยุธยาตอนปลายทรงสร้างปรางค์ขนาดใหญ่เป็นประธานของวัดเท่ากับเป็นการรื้อฟื้นศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้นที่นิยมสร้างปรางค์เป็นประธานของวัดเช่นการสร้างปรางค์ที่วัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะ เนื่องมาจากพระองค์ทรงได้เขมรมาอยู่ใต้อำนาจจึงมีการนำรูปแบบสถาปัตยกรรมเขมรเข้ามาใช้ในการก่อสร้างปรางค์อีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีพระระเบียงรอบปรางค์ประธาน ภายในพระระเบียงมีพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย ผนังระเบียงก่อด้วยอิฐถือปูน มีลูกกรงหลอกเป็นรูปลายกุดั่น พระอุโบสถ อยู่ด้านหน้าของวัดภายในมีซากพระประธานเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยสร้างด้วยหินทราย ใบเสมาของพระอุโบสถทำด้วยหินสีค่อนข้างเขียว จำหลักเป็นลายประจำยามและลายก้านขด และเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง ทางด้านหน้าพระอุโบสถมีเจดีย์ 2 องค์ ฐานกว้าง 12 เมตร สูง 12 เมตร ซึ่งถือเป็นศิลปะที่เริ่มมีแพร่หลายตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง  วัดไชยวัฒนารามได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 และกรมศิลปากรได้ดำเนินการบูรณะตลอดมาจนปัจจุบันไม่มีสภาพรกร้างอยู่ในป่าอีกแล้ว และยังคงมองเห็นเค้าแห่งความสวยงามยิ่งใหญ่ตระการตา ซึ่งผู้ไปเยือนไม่ควรพลาดชมอย่างยิ่ง  

เวลาเปิด-ปิด : เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่เวลา 08.30–16.30 น. 

อัตราค่าเข้าชม :  ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 50 บาท  หรือสามารถซื้อบัตรรวมได้ ชาวไทย 40 บาท ชาวต่างประเทศ 220 บาท โดยบัตรนี้สามารถเข้าชมวัดและพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้  ภายในระยะเวลา 30 วัน อันได้แก่ วัดพระศรีสรรเพชญ์และพระราชวังหลวง  วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดมเหยงค์ วัดไชยวัฒนาราม, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ชาวไทย 30 บาท ชาวต่างประเทศ 150 บาท   และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ชาวไทย 20 บาท ชาวต่างประเทศ 100 บาท   

หมายเหตุ ตั้งแต่เวลาประมาณ 19.30- 21.00  น. จะมีการส่องไฟชมโบราณสถาน

การเดินทาง  สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ได้แก่ 

ทางเรือ ท่านอาจเช่าเหมาเรือหางยาวจากบริเวณหลังลานจอดรถฝั่งตรงข้ามพระราชวังจันทรเกษมด้านตะวันออกของเกาะเมือง ล่องไปตามลำน้ำป่าสักลงไปทางใต้ผ่านวิทยาลัยการต่อเรือพระนครศรีอยุธยา วัดพนัญเชิงวรวิหาร วัดพุทไธศวรรย์ โบสถ์โปรตุเกส วัดไชยวัฒนาราม วัดกษัตราธิราชวรวิหาร และเจดีย์พระศรีสุริโยทัยอันสง่างามอีกด้วย ซึ่งจะทำให้การเดินทางมีรสชาติไปอีกแบบหนึ่งโดยเฉพาะเวลาพลบค่ำจะเห็นภาพบริเวณวัดไชยวัฒนารามงดงามมาก 

ทางรถยนต์  สามารถใช้เส้นทางเดียวกับวัดกษัตราธิราช แต่พอข้ามสะพานวัดกษัตราธิราชไปแล้วให้เลี้ยวขวาแล้วตรงไปเรื่อยๆ ก็จะเห็นวัดไชยวัฒนารามตั้งเด่นเป็นสง่าอยู่ทางด้านหน้า

วัดใหญ่ชัยมงคล

เดิมชื่อวัดป่าแก้วหรือวัดเจ้าพระยาไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำป่าสัก จากกรุงเทพฯ เข้าตัวเมืองอยุธยาแล้วจะเห็นเจดีย์วัดสามปลื้ม (เจดีย์กลางถนน) ให้เลี้ยวซ้ายตรงไปประมาณ 1 กิโลเมตร จะเห็นวัดใหญ่ชัยมงคลอยู่ทางซ้ายมือ วัดนี้ตามข้อมูลประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระเจ้าอู่ทองทรงสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1900 สำหรับเป็นสำนักของพระสงฆ์ซึ่งไปบวชเรียนมาแต่สำนักพระวันรัต มหาเถรในประเทศลังกา คณะสงฆ์ที่ไปศึกษาพระธรรมวินัยเรียกนามนิกายในภาษาไทยว่า “คณะป่าแก้ว” วัดนี้จึงได้ชื่อว่า วัดคณะป่าแก้ว ต่อมาเรียกให้สั้นลงว่า “วัดป่าแก้ว”  ต่อมาคนเลื่อมใสบวชเรียนพระสงฆ์นิกายนี้  พระราชาธิบดีจึงตั้งอธิบดีสงฆ์นิกายนี้เป็นสมเด็จพระวันรัตน์มีตำแหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายขวาคู่กับพระพุทธโฆษาจารย์เป็นอธิบดีสงฆ์ฝ่ายคันถธุระมีตำแหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายซ้าย หลังจากนั้นได้เปลี่ยนชื่อเป็น“วัดเจ้าพระยาไทย” สันนิษฐานว่ามาจากที่สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ทรงสร้างวัดป่าแก้วขึ้น ณ บริเวณที่ซึ่งได้ถวายพระเพลิงพระศพของเจ้าแก้วเจ้าไทยหรืออาจมาจากการที่วัดนี้เป็นที่ประทับของพระสังฆราชฝ่ายขวา ซึ่งในสมัยโบราณเรียกพระสงฆ์ว่า “เจ้าไทย” ฉะนั้นเจ้าพระยาไทยจึงหมายถึงตำแหน่งพระสังฆราช ในปี พ.ศ. 2135 เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทำศึกยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชแห่งพม่าที่ตำบลหนองสาหร่าย เมืองสุพรรณบุรี  ทรงสร้างพระเจดีย์ใหญ่ขึ้นที่วัดนี้เป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะ การสร้างพระเจดีย์อาจสร้างเสริมพระเจดีย์เดิมที่มีอยู่หรืออาจสร้างใหม่ทั้งองค์ก็ได้ ไม่มีหลักฐานแน่นอน ขนานนามว่า “พระเจดีย์ชัยมงคล” แต่ราษฎรเรียกว่า “พระเจดีย์ใหญ่” ฉะนั้นนานวันเข้าวัดนี้จึงเรียกชื่อเป็น “วัดใหญ่ชัยมงคล” วัดนี้ร้างไปเมื่อคราวเสียกรุงครั้งสุดท้าย และเพิ่งจะตั้งขึ้นเป็นวัดที่มีพระสงฆ์อยู่จำพรรษาเมื่อไม่นานมานี้ นอกจากนี้ยังมี วิหารพระพุทธไสยาสน์ สร้างในสมัยสมเด็จพระนเรศวร เพื่อเป็นที่ถวายสักการะบูชาและปฏิบัติพระกรรมฐาน   ปัจจุบันมีการสร้างพระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีผู้นิยมไปนมัสการอย่างสม่ำเสมอเป็นจำนวนมาก  ค่าเข้าชม ต่างชาติ คนละ 20 บาท


ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

ประวัติความเป็นมา พระราชกรณียกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ คือการเสด็จพระราชดำเนินตามพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไปทรงเยี่ยมราษฎรในทุกแห่งหน ทั่วทุกภาคของประเทศไทยพระราชกรณียกิจนี้ ได้ทรงปฏิบัติติดต่อกันมานานนับเป็นระยะเวลาหลายสิบปีแล้ว จึงทำให้ทรงเห็นสภาพความเป็นอยู่ที่แท้จริงของราษฎรว่ามีความทุกข์สุขอย่างไร ที่ทรงเป็นห่วงมากก็คือ ความยากจนของราษฎรจึงทรงมีพระราชประสงค์จะจัดหาอาชีพให้ราษฎรทำ เพื่อเพิ่มพูนรายได้ให้เพียงพอแก่การยังชีพ ในภาวะปัจจุบัน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงสนพระทัยในงานฝีมือพื้นบ้านหรือศิลปกรรมพื้นบ้านที่จัดทำขึ้นโดยใช้วัสดุในท้องถิ่นมาก พระองค์จึงส่งเสริมในเรื่องนี้โดยการจัดให้มีครูออกไปฝึกสอนราษฎรเป็นการช่วยปรับปรุงคุณภาพ ของงานให้ดียิ่งขึ้น เมื่อราษฎรมีความชำนาญแล้วผลงานที่ผลิตออกมา ก็จะทรงรับซื้อไว้ด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ซึ่งงานนี้ต่อมาได้ขยายออกเป็น มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 21กรกฏาคม 2519 และได้ทรงจัดตั้งโรงฝึกอบรมศิลปาชีพขึ้นแห่งแรกที่พระตำหนักสวนจิตรลดา    ในวันฉัตรมงคลปี 2523 สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯให้นายธานินทร์ กรัยวิเชียร รองประธานกรรมการมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ สรรหาที่ดินที่ใกล้เคียงกับพระราชวังบางปะอินเพื่อจัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพอีกแห่งหนึ่ง นายธานินทร์ กรัยวิเชียร จัดหาที่ดินได้  2 แปลง เป็นที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้รัฐบาลจัดการปฏิรูปที่ดินเพื่อให้ราษฎรผู้ยากไร้ได้มีที่อยู่และทำมาหากินตามอัตภาพ แปลงหนึ่งอยู่ที่อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก อีกแปลงหนึ่งอยู่ที่ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ล้นเกล้าฯ ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรที่ดินแปลงที่อยู่ที่อำเภอบางไทรด้วยพระองค์เอง ซึ่งที่ดินแปลงนี้มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 750ไร่เศษ และทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยว่าสมควรจะสร้างศูนย์ศิลปาชีพ ณ ที่นี้ วันที่ 3 มิถุนายน 2523 รัฐบาลได้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินแปลงนี้แด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 4 รอบ และรัฐบาลยังได้มีมติให้หน่วยราชการต่าง ๆ สนับสนุนโครงการของศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ ซึ่งสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงจัดตั้งขึ้นโดยมอบหมายให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมเป็นผู้รับผิดชอบในด้านการดูแลสถานที่และการฝึกอบรม และมีหน่วยทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ มาช่วยดูแลในด้านการรักษาความสงบเรียบร้อย และประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ในการจัดฝึกอบรมศิลปาชีพเรื่อยมา และมีการซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีก 200 ไร่เศษ รวมเป็นเนื้อที่ของศูนย์ฯ ทั้งหมดเกือบ 1,000ไร่ในปัจจุบัน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จพระราชดำเนินเปิดศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2527

สิ่งที่น่าสนใจ
ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ   ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาในเขตอำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มีเนื้อที่ประมาณ 1,000ไร่ ภายในศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ ประกอบด้วยสถานที่และสิ่งที่น่าสนใจหลายแห่งอาทิ
ศาลาพระมิ่งขวัญ   เป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ จตุรมุขสูง 4 ชั้น ตั้งตระหง่านอยู่กลางศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ชั้นล่าง เป็นศูนย์สาธิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพ ของศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ และศูนย์ศิลปาชีพอื่น ๆ
ทั่วประเทศ ชั้นที่ 2 และ ชั้นที่ 3 เป็นนิทรรศการผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพชิ้นยอดเยี่ยมของศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ ชั้นที่ 4 เป็นห้องประชุมสัมนา เปิดให้ชมทุกวัน วันธรรมดา 09.00 - 17.00 น. วันหยุดราชการ 09.00 - 18.00 น.   ไม่เสียค่าเข้าชม
หมู่บ้านศิลปาชีพ  การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้ให้การสนับสนุนหมู่บ้านแห่งนี้ให้แก่ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ เพื่อเป็นสถานที่แสดงถึงสถาปัตยกรรม ในการสร้างบ้านเรือนของคนไทยภาคต่าง ๆ การจำลองชีวิตความเป็นอยู่
ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมไทยจากทั่วประเทศ ภายในหมู่บ้านมีการสาธิตวิถีชีวิตความเป็นอยู่อย่างไทย ๆ ในแต่ละภาค และการสาธิตงานศิลปาชีพ เปิดให้ชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 - 17.00 น. ในวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 09.00 -19.00 น. นอกจากนี้ยังมีการแสดงนาฏศิลป์ และการละเล่นพื้นบ้านทั้ง 4 ภาคให้ชมด้วยในวันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์วันละ 1 รอบ ระหว่างเวลา 16.30 -17.30 น.
นอกจากนี้หมู่บ้านศิลปาชีพบางไทรยังมีความยินดีที่จะนำเสนอพิธีมงคลสมรสแบบประเพณีไทยโบราณภาคกลางโดยกัดกิจกรรมตามประเพณีไทยสมบูรณ์แบบ เช่น พิธีสงฆ์ ขบวนแห่ขันหมาก พิธีหลั่งน้ำสังข์ ตกแต่งสถานที่ เสียงดนตรี - เพลงบรรเลงตลอดงาน อาหารและน้ำดื่มแขกญาติ   ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่หมู่บ้านศิลปาชีพ 0 3536 6666-7,  0 9132  0303  คุณอัจฉรา)
อาคารฝึกอบรมศิลปาชีพ  ตั้งอยู่บริเวณใจกลางของศูนย์ฯประกอบด้วยอาคารฝึกอบรมศิลปาชีพของแผนกต่าง ๆ ปัจจุบันทางศูนย์ได้เปิดอบรมศิลปาชีพด้านหัตถกรรมพื้นบ้านและอาชีพเสริมให้กับเกษตรกรจากทุกภูมิภาคของประเทศรวมทั้งสิ้น 29 แผนกซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเข้าไปชมวิธีการฝึกอบรมศิลปาชีพของศูนย์ฯได้ทุกขั้นตอนและการผลิตงาน
ศิลปาชีพ ที่มีความประณีตวิจิตรซึ่งต้องใช้เวลาอันยาวนานเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ เปิดให้ชมทุกวัน เวลา 09.00- 16.00 น. ยกเว้นช่วงที่ปิดรุ่นการฝึกอบรม
พระโพธิสัตว์กวนอิมพันพระหัตถ์  นายถู เจี๋ย ในนามของประชาชนชาวจีน ได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระรูปพระโพธิสัตว์กวนอิม พันพระหัตถ์ซึ่งแกะสลักจากไม้ จันทน์เหลือง สูง 6 เมตร จำนวน1 องค์ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษาครบ 6 รอบ และทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้นำมาประดิษฐานไว้
ณ พระตำหนักชั่วคราว ศาลาโรงช้าง ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ เพื่อให้ประชาชนที่มีจิตเลื่อมใสศรัทธาในพระโพธิสัตว์กวนอิม ได้มานมัสการ และสักการะบูชา ได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 - 17.00 น.
พระตำหนัก  เป็นเรือนไทยภาคกลางใต้ถุนสูงสร้างโดยวัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นมีความสวยงามตามแบบฉบับเรือนไทยดั้งเดิม พระตำหนักนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประทับพักผ่อนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระ
บรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอทุกพระองค์ พระตำหนักนี้แวดล้อม
ไปด้วยไม้ดอกไม้ประดับและน้ำตกจำลองที่สวยงาม
วังปลา จัดสร้างและดำเนินงานโดยกรมประมง เป็นสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด ตัวอาคารหลักมีตู้กระจกขนาดใหญ่ จำนวน 2 ตู้ ตู้ใหญ่รูปเมล็ดถั่วมีขนาดความจุ 1,400 ตัน อีกตู้หนึ่งทรงกลมขนาดความจุ 600 ตัน ภายในตู้จะแสดงให้เห็นถึงการอยู่อาศัยร่วมกันของปลาน้ำจืดชนิดต่าง ๆ ที่เป็นปลาพื้นเมืองของไทย เปิดให้ชม เวลา 10.00 - 16.00 น. ปิดทุกวันจันทร์และวันอังคาร
สวนนก  ดำเนินงานโดยมูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่า และพรรณพืชแห่งประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ์ สวนนกเป็นกรงนกขนาดใหญ่ 2 กรง ภายในมีนกพันธุ์ที่หาชมได้ยากมากกว่า 30 ชนิด มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในให้เหมือนธรรมชาติ อาทิ น้ำตกและธารน้ำจำลอง มีป่าจำลองที่ร่มรื่นใกล้เคียงกับธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีสะพานแขวนให้นักท่องเที่ยวเดินขึ้น
ไปชม และถ่ายภาพนกจากด้านบนของกรงได้อย่างชัดเจน และบริเวณรอบ ๆกรงนกยังมีสัตว์ป่าอื่น ๆ ให้ชมอีกด้วย เปิดใหชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 -19.00 น. ค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 20บาท เด็ก 10 บาท
             ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร เปิดให้เข้าชมวันจันทร์-ศุกร์   เวลา 08.30–17.00 น. วันเสาร์ อาทิตย์ วันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 08.30–18.00 น.     อัตราค่าเข้าชม ชาวไทย ผู้ใหญ่ 50บาท เด็ก 20บาท    ชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 100 บาท    เด็ก 50 บาท         เที่ยวชมภายในหมู่บ้านศิลปาชีพฯ "วังปลา" พิพิธภัณฑ์ปลาน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อาคารฝึก อบรมงานศิลปาชีพ "ศาลาพระมิ่งขวัญ" ซึ่งเป็นอาคารจำหน่ายผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพของนักเรียนศิลปาชีพ สักการะบูชาพระโพธิสัตว์กวนอิมฯ ณ ศาลาโรงช้าง และนั่งรถไฟเล็ก ได้โดยไม่เสียค่าบริการสอบถามรายละเอียดที่ประชาสัมพันธ์ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร โทร. 0 3536 6252-4,   0 3528 3246-9  หรือ www.bangsaiarts.com     

การเดินทาง
1.เส้นทางที่ 1   ทางหลวงหมายเลข 9 (ถ.วงแหวนตะวันตก) จากแยกทางหลวง 344(อ.บางบัวทอง) ซึ่งมาได้จาก จ.สุพรรณบุรี
-ตลิ่งชัน หรือปทุมธานี ผ่านแยกต่างระดับสามโคก-ข้ามสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา-เลี้ยวซ้ายทางแยกบ่อส่า-เดินรถ
ตรงจนถึงศูนย์ฯ
2. เส้นทางที่ 2 ทางหลวงหมายเลข 306 ถ.ติวานนท์) จากห้าแยกปากเกร็ด-ผ่านแยกสวนสมเด็จ-ผ่านแยกปากคลองรังสิต-ผ่าน
แยกบางพูน-เลี้ยวขวาที่แยกเทคโนฯปทุมธานีเข้าทางหลวงหมายเลข 347 (ปทุมธานี-บางปะหัน) ผ่านแยก
เชียงรากน้อย-เลี้ยวซ้ายทางต่างระดับเชียงรากน้อยเดินรถทางตรงผ่านแยกบ่อส่า-กลับรถใต้สะพานแม่น้ำ
เจ้าพระยา-เลี้ยวซ้ายทางแยกบ่อส่า-เดินรถตรงมาจนถึงศูนย์
3.เส้นทางที่ 3  ทางด่วนสายปากเกร็ดบางปะอิน-ลงทางด่วนบางปะอินตรงผ่านแยกบ่อส่า-กลับรถใต้สะพานแม่น้ำเจ้าพระยา-
เลี้ยวซ้ายทางแยกบ่อส่า-เดินรถตรงมาจนถึงศูนย์ฯ
4. เส้นทางที่ 4  ทางหลวงหมายเลข 1 (ถ.พหลโยธิน) จากรังสิตหรือภาคเหนือหรือภาคอีสาน-ผ่านแยกต่างระดับบางปะอิน
เข้าทางหลวงหมายเลข 9 (ถ.วงแหวนตะวันตก) -ตรงผ่านแยกต่างระดับเชียงรากน้อย- เดินรถทางตรงผ่านแยกบ่อส่า-
กลับรถใต้สะพานแม่น้ำเจ้าพระยา-เลี้ยวซ้ายทางแยกบ่อส่า-เดินรถตรงมาจนถึงศูนย์
5. เส้นทางที่ 5  ทางหลวงเอเชีย จาก อ.บางปะหัน-อยุธยา มาตามทางหลวงหมายเลข 347(ปทุมธานี-บางปะหัน) -ข้ามสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา-แยกต่างระดับเชียงรากน้อยเลี้ยวขวา-เดินรถทางตรงผ่านแยกบ่อส่ากลับรถใต้สะพานแม่น้ำเจ้าพระยา-เลี้ยวซ้ายทางแยกบ่อส่า-เดินรถตรงมาจนถึงศูนย์ฯ
6. เส้นทางที่ 6  ทางหลวงหมายเลข 3309 (บางปะอินเชียงรากน้อย) จากทางหลวงสายเอเชีย หรืออยุธยา ผ่านหน้าโรงงานกระดาษบางปะอิน-ลอดใต้สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา-เลี้ยวซ้ายทางแยกท่าน้ำบางไทร- เดินรถตรงมาจนถึงศูนย์ฯ

วัดนิเวศธรรมประวัติ

ตั้งอยู่บนเกาะกลางแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตรงข้ามกับพระราชวังบางปะอิน หลังจากเที่ยวชมพระราชวังบางปะอิน นักท่องเที่ยวสามารถนั่งกระเช้าข้ามแม่น้ำไปเยี่ยมชมวัดนี้ได้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างวัดนี้เมื่อ พ.ศ.2419 เพื่อใช้เป็นที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลต่างๆ ขณะเสด็จประทับที่พระราชวังบางปะอิน วัดนี้มีลักษณะพิเศษคือ มีการตกแต่งเป็นแบบตะวันตกพระอุโบสถคล้ายกับโบสถ์ฝรั่งในศาสนาคริสต์ มีหลังคายอดแหลมและช่องหน้าต่างเจาะโค้งแบบโกธิค ผนังอุโบสถเหนือหน้าต่างด้านหน้าพระประธานประดับกระจกสีเป็นพระบรมฉายาลักษณ์ของรัชกาลที่ 5 ฐานชุกชีที่ประดิษฐานพระประธาน “พระพุทธนฤมลธรรโมภาส”ทำเหมือนที่ตั้งไม้กางเขนในโบสถ์คริสต์ศาสนา ด้านขวามือของพระอุโบสถนั้นมีหอประดิษฐานพระคันธารราฐซึ่งเป็นพระพุทธรูปยืนปางขอฝน ตรงข้ามกับหอพระคันธารราฐเป็นหอประดิษฐานพระพุทธรูปศิลาเก่าแก่ปางนาคปรกอันเป็นพระพุทธรูปสมัยลพบุรีฝีมือช่างขอมอายุเก่านับพันปี พระนาคปรกนี้อยู่ติดกับต้นพระศรีมหาโพธิ์ใหญ่ที่แผ่กิ่งไปทั่วบริเวณหน้าพระอุโบสถ ถัดไปไม่ไกลนักมีสวนหิน“ดิศกุลอนุสรณ์”ซึ่งรวบรวมหินชนิดต่างๆ เช่น หินปูน หินทราย หินกรวด หินชนวน และยังเป็นสถานที่บรรจุอัฐิของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และอัฐิของเจ้าจอมมารดาชุ่ม พระสนมเอกในรัชกาลที่ 4 ซึ่งเป็นพระมารดาของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และมีอัฐิของเจ้านายราชสกุลดิศกุลอีกหลายองค์

วิหารพระมงคลบพิตร

ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ ใช้เส้นทางเดียวกับทางไปคุ้มขุนแผน วิหารพระมงคลบพิตรจะอยู่ถัดไปไม่ไกลนัก พระมงคลบพิตรเป็นพระพุทธรูปบุสัมฤทธิ์ปางมารวิชัย มีขนาดหน้าตักกว้าง 9.55 เมตร และสูง 12.45 เมตร นับเป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่องค์หนึ่งในประเทศไทย ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นระหว่างปี พ.ศ. 1991–2145 สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมโปรดเกล้าฯให้ย้ายจากทิศตะวันออกนอกพระราชวังมาไว้ทางด้านทิศตะวันตกที่ประดิษฐานอยู่ในปัจจุบันและโปรดเกล้าฯให้ก่อมณฑปสวมไว้ ในสมัยสมเด็จพระเจ้าเสือ เมื่อปี พ.ศ. 2249 อสุนีบาตตกลงมาต้องยอดมณฑปพระมงคลบพิตรเกิดไฟไหม้ทำให้ส่วนบนขององค์พระมงคลบพิตรเสียหายจึงโปรดเกล้าฯให้ซ่อมแซมใหม่ แปลงหลังคายอดมณฑปเป็นมหาวิหารและต่อพระเศียรพระมงคลบพิตรในสมัยสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ (พ.ศ. 2285–2286) ในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 วิหารพระมงคลบพิตรถูกข้าศึกเผาเครื่องบนโทรมลงมาต้องพระเมาฬีและพระกรขวาของพระมงคลบพิตรหัก  รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้การปฏิสังขรณ์ใหม่ สำหรับบริเวณข้างวิหารพระมงคลบพิตรทางด้านทิศตะวันออกแต่เดิมเป็นสนามหลวง ใช้เป็นที่สำหรับสร้างพระเมรุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์และเจ้านายเช่นเดียวกับท้องสนามหลวงของกรุงเทพฯ  ค่าธรรมเนียมเข้าชาวไทย 20 บาท ต่างชาติ 50 บาท

 

วัดหน้าพระเมรุ

ตั้งอยู่ริมคลองสระบัวด้านทิศเหนือของคูเมือง (เดิมเป็นแม่น้ำลพบุรี)  ตรงข้ามกับพระราชวังหลวง สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น พุทธศักราช 2046 มีชื่อเดิมว่า “วัดพระเมรุราชิการาม” ที่ตั้งของวัดนี้เดิมคงเป็นสถานที่สำหรับสร้างพระเมรุถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์พระองค์ใดพระองค์หนึ่งสมัยอยุธยาตอนต้นต่อมาจึงได้สร้างวัดขึ้น มีตำนานเล่าว่าพระองค์อินทร์ในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงสร้างวัดนี้เมื่อ พ.ศ. 2046  วัดนี้มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเมื่อครั้งทำศึกกับพระเจ้าบุเรงนองได้มีการทำสัญญาสงบศึกเมื่อ พ.ศ. 2106 ได้สร้างพลับพลาที่ประทับขึ้นระหว่างวัดหน้าพระเมรุกับวัดหัสดาวาส 

วัดนี้เป็นวัดเดียวในกรุงศรีอยุธยาที่ไม่ได้ถูกพม่าทำลายและยังคงปรากฏสถาปัตยกรรมแบบอยุธยาอยู่ในสภาพสมบูรณ์มากที่สุดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระอุโบสถมีขนาดยาว 50 เมตร กว้าง 16 เมตรเป็นแบบอยุธยาตอนต้นซึ่งมีเสาอยู่ภายใน ต่อมาสร้างขยายออกโดยเพิ่มเสารับชายคาภายนอกในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หน้าบันเป็นไม้สักแกะสลักเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑเหยียบเศียรนาคและมีรูปราหูสองข้างติดกับเศียรนาค หน้าต่างเจาะเป็นช่องยาวตามแนวตั้ง เสาเหลี่ยมสองแถวๆ ละแปดต้น มีบัวหัวเสาเป็นบัวโถแบบอยุธยา ด้านบนประดับด้วยดาวเพดานเป็นงานจำหลักไม้ลงรักปิดทอง ส่วนลายแกะสลักบานประตูพระวิหารน้อย เป็นลายแกะสลักด้วยไม้สักหนา แกะสลักจากพื้นไม้ไม่มีการนำชิ้นส่วนที่อื่นมาติดต่อเป็นลายซ้อนกันหลายชั้น พระประธานในอุโบสถสร้างปลายสมัยอยุธยาเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยหล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ทรงเครื่องแบบกษัตราธิราช มีนามว่า “พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญ์บรมไตรโลกนาถ” จัดเป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องสมัยอยุธยาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่มีปรากฏอยู่ในปัจจุบันและมีความสมบูรณ์งดงามมากสูงประมาณ 6 เมตรหน้าตักกว้างประมาณ 4.40 เมตร  ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้มีการปฏิสังขรณ์วัดนี้โดยรักษาแบบอย่างเดิมไว้และได้เชิญพระพุทธรูปศิลาสีเขียวหรือพระคันธารราฐประทับนั่งห้อยพระบาทสมัยทวาราวดีจากวัดมหาธาตุมาไว้ในวิหารสรรเพชญ์(หรือเรียกว่า วิหารน้อยเพราะขนาดวิหารเล็ก มีความยาว 16 เมตร กว้างประมาณ 6 เมตร) ซึ่งอยู่ข้างพระอุโบสถ  พระพุทธรูปศิลาแบบนั่งห้อยพระบาทสมัยทวาราวดีนี้ นับเป็น 1 ใน 5 องค์ที่มีอยู่ในประเทศไทย จึงนับเป็นสิ่งที่มีค่าควรแก่การเก็บรักษาไว้ พระอุโบสถเปิดตั้งแต่เวลา 08.00-17.30 น.

ความเชื่อและวิธีการบูชา  พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญ์บรมไตรโลกนาถ เป็นที่เคารพบูชาของชาวกรุงเก่าและพุทธศาสนิกชนทั่วไป ที่มาชมความงามและนับถือในความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน เชื่อกันว่าหากได้มาสักการะ จะบังเกิดความร่มเย็น ก่อให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่และธุรกิจการค้า


 
 

Destination Guides Car & Fleet Guide Car Rental Locations